Publication: วิเคราะห์การฆ่าตัวตายในยุคเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในทัศนะพุทธปรัชญา
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
วิเคราะห์การฆ่าตัวตายในยุคเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในทัศนะพุทธปรัชญา
Alternative Title(s)
An analysis of suicide in social and cultural change era in perspective of Buddhist philosophy
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์เรื่อง"วิเคราะห์การฆ่าตัวตายในยุคเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในทัศนะพุทธปรัชญา"ก็เพื่อศึกษาทัศนะของพุทธปรัชญาที่เกี่ยวกับชีวิตและการให้คุณค่าแก่ชีวิตเพื่อศึกษาสาเหตุของการฆ่าตัวตายในยุคเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมและเพื่อวิเคราะห์การฆ่าตัวตายในยุคเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในทัศนะของพุทธปรัชญาการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาค้นคว้าในคัมภีร์พระไตรปิฏก อรรภกถา ฏีกา เอกสารทางวิชาการ งานวิจัยที่เกี่ยวกับการฆ่าตัวตายอิงแนวคิดทางพุทธปรัชญาและมีการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของชีวิตในทัศนะพุทธปรัชญา มีส่วนที่เป็นรูปธรรม ที่เรียกว่า กาย และนามธรรมที่เรียกว่าจิต รวมตัวกันขึ้นกายกับจิตมีความสัมพันธ์กัน มีการพึ่งพาอาศัยกันไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ชีวิตในทัศนะของพุทธปรัชญา ไม่มีอำนาจเหนือธรรมชาติที่มาสร้างชีวิต ชีวิตอยู่บนความไม่เที่ยงแท้ เป็นไปตามกฎธรรมชาติของไตรลักษณ์ คือ ความไม่เที่ยง ภาวะที่เกิดขึ้นแล้วเสื่อมสลายไป ความเป็นทุกข์ คือภาวะที่ถูกบีบคั้นขัดแย้งอยู่ในตัว อันเนื่องจากการที่ปัจจัยที่ปรุงแต่งให้มีสภาพที่เปลี่ยนแปลง ไม่สามารถให้คงอยู่ในสภาพเดิมได้ ประการสุดท้าย คือความไม่ใช่ตัวตน ความไม่มีตัวตน ชีวิตเป็นสิ่งที่ได้มาโดยยาก เมื่อได้เกิดมาเป็นมนุษย์แล้วการจะมีชีวิตอย่างมีคุณค่านั้น มนุษย์ต้องมีความเพียรพยายามละ เลิก อกุศลมูลในจิตใจ ในขณะเดียวกันก็หมั่นทำความดี และรักษาความดีอยู่เสมอพัฒนาตนเองสู่ชีวิตที่ดีงามยิ่งๆ ขึ้นไปสาเหตุของการฆ่าตัวตายในยุคเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมมีลักษณะที่ซับซ้อนมาจากหลายปัจจัยซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วยแนวคิดและทฤษฎีพบว่าหลักๆ แล้วสาเหตุการฆ่าตัวตายเกิดจาก ปัจจัยด้านการแพทย์ ปัจจัยด้านสุขภาพจิตและปัจจัยด้านสังคม ก่อให้เกิดแรงจูงใจที่เบี่ยงเบนสู่การฆ่าตัวตายอย่างขาดสติยั้งคิด ซึ่งการฆ่าตัวตายในทัศนะพุทธปรัชญา เป็นการจงใจทำลาย ขันธ์ ๕ ของตนเองให้สิ้นไปและประเภท พฤติกรรม รูปแบบของการฆ่าตัวตาย มีได้หลายลักษณะตามอิทธิพลของสาเหตุการฆ่าตัวตายอันส่งผลต่อสภาพจิตใจในขณะนั้น วิเคราะห์การฆ่าตัวตายในยุคเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาช่วยทำให้ทราบว่าแรงจูงใจที่เบี่ยงเบนเกิดจากจิตที่เศร้าหมองเพราะอุปกิเลสที่จรมากระตุ้นให้กระทำไปสู่เป้าหมายที่เป็นอกุศลและไม่ประสานสอดคล้องกันระหว่างเป้าหมายทางวัฒนธรรมหรือค่านิยมทางสังคมกับบรรทัดฐานหรือวิธีการที่สังคมกำหนด บุคคลมีเสรีภาพทางความคิดหรือการกระทำแต่ยังอยู่ในห้วงของกิเลสตัณหาเป็นตัวบงการอยู่เบื้องหลังโดยได้รับอิทธิพลจากลัทธิบริโภคนิยมและวัตถุนิยม ความคาดหวังเป็นการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงอนาคตใช้การตัดสินใจของตนในการเลือกการกระทำเพื่อให้ถึงความสำเร็จ เมื่อจิตไปผูกติดอยู่กับอนาคตที่ยังไม่มีความแน่นอนจิตจึงหาความสงบได้ยาก กวัดแกว่งไปมาตามเหตุปัจจัยแวดล้อมแต่ละขณะจิตและอุดมคติเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิตที่มนุษย์ควรกระทำ ทุกคนมีอุดมคติในการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกันไปและเป็นสิ่งที่จะต้องไปให้ถึงประโยชน์สุขซึ่งอุดมคติเป็นสิ่งแปรเปลี่ยนไปตามความเชื่อ ทัศนะคติ และค่านิยมต่างๆทางสังคม
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
บัณฑิตวิทยาลัย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย