Publication: A Conversational Implicature Analysis in J.K. Rowling’s Harry Potter and the Prisoner of Azkaban
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2013
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1906-0181
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Rajabhat Maha Sarakham University Journal
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
Volume
7
Issue
3
Edition
Start Page
25
End Page
38
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
A Conversational Implicature Analysis in J.K. Rowling’s Harry Potter and the Prisoner of Azkaban
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
The purposes of this study were to pragmatically identify and analyse the conversational implicatures contained within the 30 selected dialogues of the 7 main characters in J.K. Rowling’s Harry Potter and the Prisoner of Azkaban focusing on Grice’s cooperative principle (1975) to find out whether the 7 main char-acters flouted or violated the conversational maxims. Moreover, the study aimed to demonstrate how the 7 main characters conveyed their intended meanings through conversational implicatures and how the others as listeners recognised the intended meanings.The findings showed that the selected dialogues contained 75 conversational implicatures. The 7 main characters employed the conversational implicatures for 19 functions: sarcasm, irony, confirmation, guessing, clarifying, expressing dissatisfaction, politeness, conviction, indirect answers, disagreements, in-direct statements, indirect questions and indirect requests, emphasizing, avoiding embarrassment, telling lies, changing the topic of the conversation, distracting the listeners from the topic of conversation and dis-tracting the third party from the current conversation. Additionally, it was found that the ways the characters as the speakers conveyed their intended meanings and the ways the others as the listeners recognised the implicatures contained in the dialogues depended on the utterances themselves, the context of the situation, the listeners’ background knowledge and the listeners’ knowledge of the conversational maxims.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความหมายนัยแฝงในบทสนทนาตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ใน 30 บทสนทนาของตัวละครหลักทั้ง 7 ตัวในนวนิยายของ เจ.เค. โรว์ลิ่ง เรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน โดยใช้ทฤษฎีหลักการความร่วมมือของไกรซ์เพื่อศึกษาการละเมิดหลักการสนทนาของตัวละครหลัก นอกจากนี้การวิจัยครั้งนี้ยังอธิบายถึงวิธีที่ตัวละครหลักทั้ง 7 ตัวใช้เพื่อถ่ายทอดความหมายที่แท้จริงผ่านความหมายนัยแฝงในบทสนทนาและวิธีที่ตัวละครอีกฝ่ายในฐานะผู้ฟังตีความความหมายที่ผู้พูดต้องการสื่อผ่านความหมายนัยแฝงได้ ผลการวิจัยพบว่ามีข้อความที่ให้ความหมายนัยแฝงจำนวนทั้งสิ้น 75 ข้อความ ตัวละครหลักทั้ง 7 ตัว ได้กล่าวข้อความที่มีความหมายนัยแฝงโดยมีสาเหตุมาจาก 19 สาเหตุด้วยกัน คือ เพื่อเสียดสี เพื่อประชดประชัน เพื่อยืนยันในข้อความที่พูด เพื่อการคาดการณ์ เพื่ออธิบายความ เพื่อแสดงความไม่พึงพอใจ เพื่อแสดงความสุภาพ เพื่อโน้มน้าวผู้ฟัง เพื่อตอบคำถามทางอ้อม เพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยทางอ้อม เพื่อแสดงความคิดเห็นทางอ้อม เพื่อถามคำถามทางอ้อม เพื่อปฏิเสธทางอ้อม เพื่อเน้นความหมาย เพื่อหลีกเลี่ยงความลำบากใจ เพื่อการโกหก เพื่อเปลี่ยนหัวข้อในการสนทนา เพื่อหันเหความสนใจของผู้ฟังออกจากหัวข้อในการสนทนา และเพื่อกีดกันบุคคลที่สามออกจากการสนทนา นอกจากนี้ยังพบว่า ในการสื่อความหมายที่แท้จริงผ่านความหมายนัยแฝงในบทสนทนาของตัวละครในฐานะผู้พูดและการตีความความหมายที่แท้จริงของตัวละครในฐานะผู้ฟังนั้นขึ้นอยู่กับ ข้อความ บริบทของสถานการณ์ พื้นความรู้ของตัวละครแต่ละตัว และความรู้ในแง่หลักการสนทนา
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความหมายนัยแฝงในบทสนทนาตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ใน 30 บทสนทนาของตัวละครหลักทั้ง 7 ตัวในนวนิยายของ เจ.เค. โรว์ลิ่ง เรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน โดยใช้ทฤษฎีหลักการความร่วมมือของไกรซ์เพื่อศึกษาการละเมิดหลักการสนทนาของตัวละครหลัก นอกจากนี้การวิจัยครั้งนี้ยังอธิบายถึงวิธีที่ตัวละครหลักทั้ง 7 ตัวใช้เพื่อถ่ายทอดความหมายที่แท้จริงผ่านความหมายนัยแฝงในบทสนทนาและวิธีที่ตัวละครอีกฝ่ายในฐานะผู้ฟังตีความความหมายที่ผู้พูดต้องการสื่อผ่านความหมายนัยแฝงได้ ผลการวิจัยพบว่ามีข้อความที่ให้ความหมายนัยแฝงจำนวนทั้งสิ้น 75 ข้อความ ตัวละครหลักทั้ง 7 ตัว ได้กล่าวข้อความที่มีความหมายนัยแฝงโดยมีสาเหตุมาจาก 19 สาเหตุด้วยกัน คือ เพื่อเสียดสี เพื่อประชดประชัน เพื่อยืนยันในข้อความที่พูด เพื่อการคาดการณ์ เพื่ออธิบายความ เพื่อแสดงความไม่พึงพอใจ เพื่อแสดงความสุภาพ เพื่อโน้มน้าวผู้ฟัง เพื่อตอบคำถามทางอ้อม เพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยทางอ้อม เพื่อแสดงความคิดเห็นทางอ้อม เพื่อถามคำถามทางอ้อม เพื่อปฏิเสธทางอ้อม เพื่อเน้นความหมาย เพื่อหลีกเลี่ยงความลำบากใจ เพื่อการโกหก เพื่อเปลี่ยนหัวข้อในการสนทนา เพื่อหันเหความสนใจของผู้ฟังออกจากหัวข้อในการสนทนา และเพื่อกีดกันบุคคลที่สามออกจากการสนทนา นอกจากนี้ยังพบว่า ในการสื่อความหมายที่แท้จริงผ่านความหมายนัยแฝงในบทสนทนาของตัวละครในฐานะผู้พูดและการตีความความหมายที่แท้จริงของตัวละครในฐานะผู้ฟังนั้นขึ้นอยู่กับ ข้อความ บริบทของสถานการณ์ พื้นความรู้ของตัวละครแต่ละตัว และความรู้ในแง่หลักการสนทนา