Publication: ผลกระทบจากการลอกเลียนงานทางวิชาการของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2651-1223
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์
Volume
12
Issue
2
Edition
Start Page
107
End Page
117
Access Rights
Access Status
Rights
Copyright (c) 2020 วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ผลกระทบจากการลอกเลียนงานทางวิชาการของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Alternative Title(s)
Author(s)
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากการลอกเลียนทางวิชาการของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช และประเมินความรู้ความเข้าใจเรื่องการลอกเลียนทางวิชาการของนักศึกษาจากรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น โดยเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยด้วยแบบสอบถามและแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนจากนักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลอง จ านวน 12คน และเรียนในรายวิชาการวิจัยทางด้านสารสนเทศศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ส่วนสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบความแตกต่างของตัวแปรใช้ค่าคะแนนที (t-test) ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1พบว่า สาเหตุหลักที่ส่งผลให้เกิดกรณีการลอกเลียนทางวิชาการของนักศึกษา ประการแรกคือ ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อันเนื่องจากไม่มีความรู้และขาดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง อีกประการคือ การจงใจลอกเลียนทางวิชาการ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างยิ่งส าหรับการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษา และสะท้อนปัญหาทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ด้านเจตคติ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และด้านสมรรถนะส าหรับผลการวิจัยของวัตถุประสงค์ข้อที่ 2พบว่า นักศึกษากลุ่มทดลองที่ได้รับการพัฒนาความเข้าใจเรื่องการลอกเลียนทางวิชาการ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเป็นเวลา9 สัปดาห์ โดยมุ่งเน้นสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการลอกเลียนทางวิชาการด้วยการฝึกปฏิบัติเขียนเชิงวิชาการเขียนอ้างอิงในเนื้อหาและเขียนบรรณานุกรมร่วมกับการอภิปรายกรณีศึกษาต่าง ๆ ที่นักศึกษาสนใจผลการวิจัยพบว่า นักศึกษากลุ่มทดลองนี้มีค่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05