Publication: การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความและความคงทนในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น โดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Journal of Educational Technology and Communications Faculty of Education Mahasarakham University
Journal of Educational Technology and Communications Faculty of Education Mahasarakham University
Volume
3
Issue
9
Edition
Start Page
86
End Page
93
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความและความคงทนในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น โดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Alternative Title(s)
Development of Ability in Japanese Skimming Reading for Main Idea and Retention on Learning Using Directed-Reading-Thinking Activity for Matthayomsuksa 5 Students
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้จึงมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่น สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 2) ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนในหลักสูตรศิลป์-ภาษาญี่ปุ่น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จำนวน 30 คน โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ประกอบด้วยวงจรปฏิบัติการวิจัย 3 วงจรเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่นโดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA จำนวน 12 แผน 2) แบบตรวจสอบรายการความคิดเห็นผู้เรียน 3) แบบทดสอบท้ายวงจร 3 ฉบับ ๆ ละ 20 ข้อ 4) แบบทดสอบความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่นดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ t-test (Dependent Samples)