Publication: การพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะและเจตคติในการเรียนภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2697-5033
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Roi Kaensarn Academi
Volume
6
Issue
9
Edition
Start Page
142
End Page
157
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะและเจตคติในการเรียนภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
Alternative Title(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะและเจตคติในการเรียนภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย และ 2) ทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะและเจตคติในการเรียนภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร ชั้นปีที่ 3 ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับครูปฐมวัย ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 60 คน โดยกลุ่มตัวอย่างได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จากกลุ่มประชากรที่เป็นนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 5 จำนวน 300 คน ภายใต้เงื่อนไขให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นโดยเข้าร่วมทุกกิจกรรมตามที่กำหนด ผลการประเมินการตรวจสอบรูปแบบกิจกรรมมีค่า IOC ที่ 1.00 เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบทักษะทางภาษาอังกฤษซึ่งแบ่งออกเป็นทักษะการพูด ทักษะการฟัง และ แบบประเมินเจตคติต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบที่พัฒนาขึ้นมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ P-Pronunciation (ฝึกการออกเสียง) P-Program (โปรแกรม) P-Purpose (จุดมุ่งหมาย) P-Pleasure (ความเพลิดเพลิน) P-Peer Involvement (การทำกิจกรรมกับเพื่อน) ซึ่งมีกระบวนการการจัดกิจกรรม 5 ขั้นดังนี้ ขั้นที่ 1 การทักทาย ขั้นที่ 2 แนะนำเรียน ขั้นที่ 3 เรียนเพื่อรู้ ขั้นที่ 4 สรุปบทเรียน และขั้นที่ 5 ทบทวนบทเรียน และ 2) รูปแบบกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นกับกลุ่มตัวอย่าง หลังการทดลองใช้พบว่า ทักษะทางภาษาอังกฤษและเจตคติในการเรียนภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01