Publication: Thai tertiary English majors’ attitudes towards and awareness of world Englishes
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2012
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2651-1347 (Print), 2672-989X (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Studies in the English Language
Volume
7
Issue
Edition
Start Page
74
End Page
116
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Thai tertiary English majors’ attitudes towards and awareness of world Englishes
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
The purposes of the present study were to investigate Thai university English learners’ attitudes towards and awareness of varieties of English, in relation to the ideology of English as an international language, which sees English in its pluralistic rather than the monolithic nature. The results show that the learners held more favorable attitudes towards mainstream inner-circle Englishes (American English and British English) than nonnative Englishes. In detail, the inner-circle speakers were perceived to possess better attributes (e.g., status, competence and personality) than nonnative speakers. The findings suggest that the English learners, in the present study, were linguistically prejudiced as they stereotyped others based on accent. In terms of accent awareness, the learners did not have sufficient awareness of varieties of English since the majority of them failed to identify the speakers’ country of origin from the speakers’ voices. It was found that the Thai English voice was the only stimulus that was successfully recognized by half of the informants, whereas the other varieties were inappropriately identified. This paper ends with proposing pedagogical suggestions and implications in raising learners’ awareness of the changing contexts of English so that they become more tolerant towards linguistic diversity.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติ และ ความสำเหนียกของนักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษต่อความหลากหลายของสำเนียงภาษาอังกฤษ ภายใต้กรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาษาอังกฤษในฐานะภาษานานาชาติซึ่งพิจารณาภาษาอังกฤษจากมุมมองพหุรูปแบบ มากกว่ารูปแบบเดี่ยวซึ่งผูกติดกับเจ้าของภาษาเพียงอย่างเดียว ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ นักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ มีทัศนคติต่อสำเนียงภาษาอังกฤษในกลุ่มวงใน (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน และแบบอังกฤษ) ดีกว่าสำเนียงภาษาอังกฤษในกลุ่มวงนอก (ภาษาอังกฤษแบบฟิลิปปินส์ และแบบอินเดีย) และสำเนียงภาษาอังกฤษในกลุ่มวงขยาย (ภาษาอังกฤษแบบญี่ปุ่น และแบบไทย) อย่างมีนัยสำคัญ โดยผู้พูดจากกลุ่มวงใน ถูกมองว่า มีคุณสมบัติ (เช่น สถานะ ความสามารถ และบุคลิกภาพ) ที่ดีกว่าผู้พูดที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา (กลุ่มวงนอก และวงขยาย) ผลการวิจัยครั้งนี้สะท้อนให้เห็นว่าทัศนคติต่อคุณสมบัติของผู้พูดที่นักศึกษาได้แสดงออกมาผ่านสำเนียงบ่งบอกถึงการเหยียดภาษา นอกจากนี้ยังพบว่านักศึกษามีความสำเหนียกต่อความหลากหลายของสำเนียงในภาษาอังกฤษน้อยเนื่องจากนักศึกษาส่วนใหญ่ ไม่สามารถจำแนกสำเนียงที่ได้ยินได้ว่าผู้พูดมาจากประเทศใด ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาสามารถจำแนกผู้พูดที่มาจากประเทศไทยได้มากที่สุด ซึ่งจำนวนนักศึกษาที่จำแนกสำเนียงนี้ได้เป็นครึ่งหนึ่งของนักศึกษาทั้งหมด สำหรับสำเนียงอื่นๆ นักศึกษาสามารถจำแนกได้น้อยมาก อย่างไรก็ตาม นักศึกษาสามารถจำแนกสำเนียงของเจ้าของภาษาและสำเนียงที่ไม่ใช่ของเจ้าของภาษาได้ดีมาก จากผลวิจัยดังกล่าว ผู้วิจัยได้นำเสนอข้อเสนอแนะทางการศึกษาและการนำผลการศึกษาไปใช้ที่หลากหลาย เช่น ความจำเป็นในการเสริมสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวภาษาอังกฤษในบริบทที่เปลี่ยนไป เพื่อให้นักศึกษาเกิดการยอมรับความหลากหลายทางภาษาศาสตร์
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติ และ ความสำเหนียกของนักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษต่อความหลากหลายของสำเนียงภาษาอังกฤษ ภายใต้กรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาษาอังกฤษในฐานะภาษานานาชาติซึ่งพิจารณาภาษาอังกฤษจากมุมมองพหุรูปแบบ มากกว่ารูปแบบเดี่ยวซึ่งผูกติดกับเจ้าของภาษาเพียงอย่างเดียว ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ นักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ มีทัศนคติต่อสำเนียงภาษาอังกฤษในกลุ่มวงใน (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน และแบบอังกฤษ) ดีกว่าสำเนียงภาษาอังกฤษในกลุ่มวงนอก (ภาษาอังกฤษแบบฟิลิปปินส์ และแบบอินเดีย) และสำเนียงภาษาอังกฤษในกลุ่มวงขยาย (ภาษาอังกฤษแบบญี่ปุ่น และแบบไทย) อย่างมีนัยสำคัญ โดยผู้พูดจากกลุ่มวงใน ถูกมองว่า มีคุณสมบัติ (เช่น สถานะ ความสามารถ และบุคลิกภาพ) ที่ดีกว่าผู้พูดที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา (กลุ่มวงนอก และวงขยาย) ผลการวิจัยครั้งนี้สะท้อนให้เห็นว่าทัศนคติต่อคุณสมบัติของผู้พูดที่นักศึกษาได้แสดงออกมาผ่านสำเนียงบ่งบอกถึงการเหยียดภาษา นอกจากนี้ยังพบว่านักศึกษามีความสำเหนียกต่อความหลากหลายของสำเนียงในภาษาอังกฤษน้อยเนื่องจากนักศึกษาส่วนใหญ่ ไม่สามารถจำแนกสำเนียงที่ได้ยินได้ว่าผู้พูดมาจากประเทศใด ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาสามารถจำแนกผู้พูดที่มาจากประเทศไทยได้มากที่สุด ซึ่งจำนวนนักศึกษาที่จำแนกสำเนียงนี้ได้เป็นครึ่งหนึ่งของนักศึกษาทั้งหมด สำหรับสำเนียงอื่นๆ นักศึกษาสามารถจำแนกได้น้อยมาก อย่างไรก็ตาม นักศึกษาสามารถจำแนกสำเนียงของเจ้าของภาษาและสำเนียงที่ไม่ใช่ของเจ้าของภาษาได้ดีมาก จากผลวิจัยดังกล่าว ผู้วิจัยได้นำเสนอข้อเสนอแนะทางการศึกษาและการนำผลการศึกษาไปใช้ที่หลากหลาย เช่น ความจำเป็นในการเสริมสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวภาษาอังกฤษในบริบทที่เปลี่ยนไป เพื่อให้นักศึกษาเกิดการยอมรับความหลากหลายทางภาษาศาสตร์