Publication: Représentation de la grammaire française des lycéens thaïlandais et leurs comportements d’apprentissage
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
fr
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1686-4395
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Damrong Journal of the Faculty of Archaeology, Silpakorn University
วารสารดำรงวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
วารสารดำรงวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Volume
20
Issue
1
Edition
Start Page
119
End Page
150
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Représentation de la grammaire française des lycéens thaïlandais et leurs comportements d’apprentissage
Alternative Title(s)
Representation of French Grammar Based on Thai Students and Their Behaviors
มโนทัศน์เกี่ยวกับไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศสที่สร้างขึ้นโดยนักเรียนชาวไทยและพฤติกรรมการเรียน
มโนทัศน์เกี่ยวกับไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศสที่สร้างขึ้นโดยนักเรียนชาวไทยและพฤติกรรมการเรียน
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This research aimed to examine the social representation of French grammar among Thai high school students. The data were collected from participants who recently just started studying French. Since their level of French was still at the beginner level, their social representation of French grammar was naïve. Twenty-seven high school students volunteered to complete the questionnaire. The data was qualitatively analysed according to the central and peripheral elements of social representation. The preferences and behavioural factors were also examined in order to answer the research objectives. The results showed that the participants thought studying French grammar was about learning and memorising the structural patterns. However, these techniques would be likely to later decrease the participants’ learning motivation. In addition, the participants attached great importance to the role of grammar. However, when comparing grammatical and lexical knowledge, the students preferred to learn the vocabulary. For the behavioural factors, the participants relied on the extrinsic motivation such as scores and “good image”. Therefore, the researcher surmised that they should change their thinking.; Cette recherche a pour but d’étudier la représentation que les lycéens se forment de la grammaire française ainsi que leurs comportements d’apprentissage. Nous avons mené l’enquête auprès des lycéens thaïlandais, plus précisément des utilisateurs élémentaires du français. Étant donné qu’ils viennent de commencer à apprendre le français, leur pensée reste, d’après nous, encore « naïve ». 27 apprenants se sont portés volontaires pour répondre à notre questionnaire dont les réponses ont été qualitativement analysées. Dans l’analyse, nous nous appuyons sur le noyau et les éléments périphériques de la représentation en mettant en relief la dimension des attitudes affectives et comportementales. Le résultat montre que pour les participants à notre enquête, apprendre la grammaire équivaut à apprendre la syntaxe phrastique. La stratégie de mémorisation est accentuée ; cette surcharge cognitive décourage les apprenants de faire des efforts pour maîtriser la grammaire française, même s’ils reconnaissent, a priori, son rôle significatif. Pourtant, lors de la mise en relation des compétences grammaticales avec les compétences lexicales, beaucoup tournent leur attention vers ces dernières. Par ailleurs, leurs comportements d’apprentissage résultent encore de la motivation extrinsèque : ou bien beaucoup attendent une récompense (les bonnes notes), ou bien ils ont peur d’être mal vus par l’enseignant. Il faudrait ainsi, d’après nous, faire changer cette conception.
งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์เรื่องไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศสที่สร้างขึ้นโดยนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และเพื่อศึกษาพฤติกรรมการเรียนไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศสของพวกเขา ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บข้อมูลกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่มีความรู้ภาษาฝรั่งเศสในระดับเบื้องต้น เนื่องจากผู้เรียนเหล่านี้เพิ่งจะเริ่มเรียนภาษาฝรั่งเศส ดังนั้นความคิดมโนทัศน์ของพวกเขายังคง “ไร้การปรุงแต่ง” (naive) ผู้เรียนจําานวน 27 คนยินดีเป็นอาสาสมัครตอบแบบสอบถามที่ผู้วิจัยจะวิเคราะห์ในเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยเน้นศึกษาแก่น (Central elements) และส่วนประกอบ (Peripheral elements) ของมโนทัศน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านความชื่นชอบและพฤติกรรมการเรียนเพื่อตอบจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าตามความคิดเห็นของกลุ่มประชากรศึกษา การเรียนไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศสเป็นการศึกษาโครงสร้างประโยคซึ่งต้องใช้เทคนิคการจํา วิธีการเหล่านี้ต้องอาศัยเทคนิคและกระบวนการคิดอย่างมากจึงทำให้ผู้เรียนไม่อยากศึกษาไวยากรณ์ แต่พวกเขาตระหนักถึงบทบาทสําคัญของไวยากรณ์ อย่างไรก็ตามเมื่อมีการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหว่างความสามารถทางไวยากรณ์ และความสามารถทางด้านคำศัพท์ ผู้เรียนจําานวนมากได้เบี่ยงเบนความสนใจไปทางคําศัพท์ นอกจากนี้ในเรื่องพฤติกรรมการเรียนผู้เรียนหลายคนกล่าวถึงแรงจูงใจภายนอก เช่น การได้คะแนนดี ความกลัวที่จะถูกมองไม่ดีในสายตาของผู้อื่น ดังนั้นผู้วิจัยจึงคิดว่าควรเปลี่ยนความคิดนี้เป็นการเร่งด่วน
งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์เรื่องไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศสที่สร้างขึ้นโดยนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และเพื่อศึกษาพฤติกรรมการเรียนไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศสของพวกเขา ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บข้อมูลกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่มีความรู้ภาษาฝรั่งเศสในระดับเบื้องต้น เนื่องจากผู้เรียนเหล่านี้เพิ่งจะเริ่มเรียนภาษาฝรั่งเศส ดังนั้นความคิดมโนทัศน์ของพวกเขายังคง “ไร้การปรุงแต่ง” (naive) ผู้เรียนจําานวน 27 คนยินดีเป็นอาสาสมัครตอบแบบสอบถามที่ผู้วิจัยจะวิเคราะห์ในเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยเน้นศึกษาแก่น (Central elements) และส่วนประกอบ (Peripheral elements) ของมโนทัศน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านความชื่นชอบและพฤติกรรมการเรียนเพื่อตอบจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าตามความคิดเห็นของกลุ่มประชากรศึกษา การเรียนไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศสเป็นการศึกษาโครงสร้างประโยคซึ่งต้องใช้เทคนิคการจํา วิธีการเหล่านี้ต้องอาศัยเทคนิคและกระบวนการคิดอย่างมากจึงทำให้ผู้เรียนไม่อยากศึกษาไวยากรณ์ แต่พวกเขาตระหนักถึงบทบาทสําคัญของไวยากรณ์ อย่างไรก็ตามเมื่อมีการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหว่างความสามารถทางไวยากรณ์ และความสามารถทางด้านคำศัพท์ ผู้เรียนจําานวนมากได้เบี่ยงเบนความสนใจไปทางคําศัพท์ นอกจากนี้ในเรื่องพฤติกรรมการเรียนผู้เรียนหลายคนกล่าวถึงแรงจูงใจภายนอก เช่น การได้คะแนนดี ความกลัวที่จะถูกมองไม่ดีในสายตาของผู้อื่น ดังนั้นผู้วิจัยจึงคิดว่าควรเปลี่ยนความคิดนี้เป็นการเร่งด่วน
Table of contents
Description
บทความวิชาการ/บทความวิจัย