Publication: ECOCENTRIC WORLD VIEW AND EMPATHY IN ROALD DAHL’S THE MAGIC FINGER
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2286-945X
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
Volume
6
Issue
1
Edition
Start Page
111
End Page
126
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ECOCENTRIC WORLD VIEW AND EMPATHY IN ROALD DAHL’S THE MAGIC FINGER
Alternative Title(s)
โลกทัศน์นิเวศเป็นศูนย์กลางและความเข้าใจผู้อื่นในวรรณกรรมเรื่อง นิ้ววิเศษ ของโรอัลด์ ดาห์
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
Roald Dahl’s The Magic Finger illustrates the ecocentric world view through creating the empathy for the wild ducks. The empathy is carefully crafted in a depiction of role-switching between humans and ducks in which the hunter becomes the hunted. Roald Dahl’s language leads the readers, particularly the children, to empathize with “lower” creatures and respect all creatures as equal beings. The language of children’s literature has an eminent power to sow a sustainable notion of ecocentric world view in the young readers’ heart. This paper presents how the language in The Magic Finger is achieved in creating a sense of empathy not sympathy. The emotions are ignited and soften throughout the story; the more the readers identify themselves with the situations, the more they go beyond the level of sympathy and reach the one of empathy. The change of the name from “Gregg” to “Egg” at the end of the story also enhances the power of language in conveying the bond between humans and the other creatures. The empathy thus creates the ecocentric world view and is also created by the same world view.
วรรณกรรมเรื่อง นิ้ววิเศษ ของโรอัลด์ ดาห์ล แสดงให้เห็นโลกทัศน์นิเวศเป็นศูนย์กลางผ่านการสร้างความเข้าใจที่มีต่อเป็ดป่า ความเข้าใจผู้อื่นได้รับการร้อยเรียงอย่างพิถีพิถันผ่านการพรรณนาการสลับบทบาทระหว่างมนุษย์และเป็ดซึ่งผู้ล่ากลับกลายมาเป็นผู้ถูกล่า ถ้อยคําของโรอัลด์ ดาห์ลนําให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนเข้าใจสิ่งมีชีวิต “ชั้นต่ํากว่า” และเคารพทุกชีวิตในฐานะชีวิตที่เท่าเทียมกัน พลังแห่งภาษาซึ่งเห็นได้ชัดเจนในวรรณกรรมเยาวชนได้หว่านเพาะความคิดที่ยั่งยืนว่าด้วยนิเวศเป็นศูนย์กลางในหัวใจของผู้อ่านรุ่นเยาว์ บทความฉบับนี้ชี้ให้เห็นว่าภาษาสามารถยังผลให้เกิดนัยของความเข้าใจผู้อื่น มิใช่เพียงความเห็นใจผู้อื่น ตลอดทั้งเรื่องอารมณ์ต่างๆ มีทั้งถูกทําให้ลุกโชนและผ่อนลง ทั้งนี้ยิ่งผู้อ่านเชื่อมโยงตนเองกับเหตุการณ์ในเรื่อง ผู้อ่านก็ยิ่งสามารถข้ามผ่านความเห็นใจผู้อื่น และเข้าถึงความเข้าใจผู้อื่น การเปลี่ยนชื่อจาก “Gregg” เป็น “Egg” ในตอนท้ายเรื่องขับเน้นพลังแห่งภาษาในการสื่อถึงสายสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพชีวิตอื่นๆ ความเข้าใจผู้อื่นจึงสร้างโลกทัศน์นิเวศเป็นศูนย์กลาง และในขณะเดียวกันโลกทัศน์นิเวศเป็นศูนย์กลางก็สร้างความเข้าใจผู้อื่น
วรรณกรรมเรื่อง นิ้ววิเศษ ของโรอัลด์ ดาห์ล แสดงให้เห็นโลกทัศน์นิเวศเป็นศูนย์กลางผ่านการสร้างความเข้าใจที่มีต่อเป็ดป่า ความเข้าใจผู้อื่นได้รับการร้อยเรียงอย่างพิถีพิถันผ่านการพรรณนาการสลับบทบาทระหว่างมนุษย์และเป็ดซึ่งผู้ล่ากลับกลายมาเป็นผู้ถูกล่า ถ้อยคําของโรอัลด์ ดาห์ลนําให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนเข้าใจสิ่งมีชีวิต “ชั้นต่ํากว่า” และเคารพทุกชีวิตในฐานะชีวิตที่เท่าเทียมกัน พลังแห่งภาษาซึ่งเห็นได้ชัดเจนในวรรณกรรมเยาวชนได้หว่านเพาะความคิดที่ยั่งยืนว่าด้วยนิเวศเป็นศูนย์กลางในหัวใจของผู้อ่านรุ่นเยาว์ บทความฉบับนี้ชี้ให้เห็นว่าภาษาสามารถยังผลให้เกิดนัยของความเข้าใจผู้อื่น มิใช่เพียงความเห็นใจผู้อื่น ตลอดทั้งเรื่องอารมณ์ต่างๆ มีทั้งถูกทําให้ลุกโชนและผ่อนลง ทั้งนี้ยิ่งผู้อ่านเชื่อมโยงตนเองกับเหตุการณ์ในเรื่อง ผู้อ่านก็ยิ่งสามารถข้ามผ่านความเห็นใจผู้อื่น และเข้าถึงความเข้าใจผู้อื่น การเปลี่ยนชื่อจาก “Gregg” เป็น “Egg” ในตอนท้ายเรื่องขับเน้นพลังแห่งภาษาในการสื่อถึงสายสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสรรพชีวิตอื่นๆ ความเข้าใจผู้อื่นจึงสร้างโลกทัศน์นิเวศเป็นศูนย์กลาง และในขณะเดียวกันโลกทัศน์นิเวศเป็นศูนย์กลางก็สร้างความเข้าใจผู้อื่น