Publication: การประเมินหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา: แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2697-4827
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
อินฟอร์เมชั่น
Volume
27
Issue
2
Edition
Start Page
121
End Page
140
Access Rights
Access Status
Rights
Copyright (c) 2020 Information - อินฟอร์เมชั่น
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การประเมินหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา: แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ
Alternative Title(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา(หลักสูตรปรับปรุง 2559) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ โดยดำเนินการวิจัยแบบผสานวิธี ตามรูปแบบการประเมินแบบชิปป์ (CIPP Model) จากการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างนิสิตหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษาชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 243 คน และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ดูแลการฝึกงาน จำนวน 45 คน ผู้เชี่ยวชาญ 5 คน และข้อมูลจากการสนทนากลุ่มของอาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน จำนวน 8 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นิสิตชั้นปีที่ 1-4 มีความคิดเห็นว่าหลักสูตรมีความเหมาะสมด้านบริทบท ด้านปัจจัยนำเข้า และด้านกระบวนการ ในระดับมาก ส่วนความคิดเห็นของผู้ดูแลฝึกงานและผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน พบว่า หลักสูตรมีความเหมาะสมและเป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยมีข้อเสนอแนะให้ปรับปรุงหลักสูตรเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตให้มีทักษะด้านความรู้ (Hard skills) และทักษะด้านสังคม (Soft skills) ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ โดยให้หลักสูตรมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติมากขึ้น