Publication: 汉泰“心”字词语语义认知对比研究
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
中國學研究期刊
Chinese Studies Journal
วารสารจีนศึกษา
Chinese Studies Journal
วารสารจีนศึกษา
Volume
13
Issue
1
Edition
Start Page
123
End Page
156
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
汉泰“心”字词语语义认知对比研究
Alternative Title(s)
A Semantic Cognition Comparative Study of the Word "Heart" in Chinese-Thai Language
การศึกษาเปรียบเทียบทางอรรถศาสตร์ปริชานของคำ “ใจ” ในภาษาจีนและไทย
การศึกษาเปรียบเทียบทางอรรถศาสตร์ปริชานของคำ “ใจ” ในภาษาจีนและไทย
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
本文以认知语言学的相关理论为基础,对《现代汉语词典》和《泰国皇家学会泰语词典》中“心”字词语的语义进行认知对比,以期发现“心”和“ใจ”在汉泰语言中语义概念、文化涵义以及认知方式等方面的异同。通过“心”字词语的语义认知对比,我们发现汉语和泰语的“心”在语义上基本相同,两种语言的使用者在认知方式上存在共通性的同时也存在某种差异。汉语和泰语的“心”语义上都由“心脏”这一实体意象出发,进而引申出“思想的器官和思想感情”义项以及外部实体空间的“中心”义项。不同之处在于泰民族基于对胸部和心脏活动的认知,使“心”具有了“呼吸、气息”的义项。“心”字词语语义的异同反映了汉泰语言使用者认知共通性的同时,也反映出由于自然地理环境、社会风俗文化等不同而造成的认知差异性。
Based on the theories of cognitive linguistics, this article makes a semantic cognitive comparison of the word "heart" in the "Modern Chinese Dictionary" and "Thai Royal Institute Dictionary " in order to discover the similarities and differences in semantic concepts, cultural connotations and cognitive methods of the "heart" in Chinese and Thai languages. We found that the meanings are basically same, the users of the two languages have a common cognitive style and also some differences. The semantic meaning of "heart" in both Chinese and Thai is based on the entity image of "heart", which leads to the meaning of "organs of thought and feelings " and the "center" of external entity space. The difference is that in Thai the "heart" have the meaning of "breath" The semantic similarities and differences of the words "heart" reflect the cognitive commonality of Chinese and Thai language users, and also reflect the cognitive differences caused by differences in natural geographical environment, social customs and culture.
บทความนี้เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์คำว่า “ใจ” ของภาษาจีนและภาษาไทยในด้านความหมายพื้นฐาน รวมถึงความหมายในบริบททางวัฒนธรรมของทั้ง 2 ภาษา โดยการศึกษานั้นใช้ทฤษฎีทางอรรถศาสตร์ปริชานเป็นทฤษฎีหลักในการวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งนี้คำว่าคำว่า “ใจ” ของภาษาจีนและภาษาไทยที่ผู้วิจัยนำมาวิเคราะห์อ้างอิงจากพจนานุกรมภาษาจีนสมัยใหม่ ฉบับตีพิมพ์ที่ 7 และพจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน ฉบับปีพศ.ที่ 2554 ผลจากการวิจัยค้นพบว่า คำว่า”ใจ” ในภาษาจีนและไทยนั้นมีจุดที่เหมือนและต่างกัน โดยในภาษาจีนและไทยคำว่า”ใจ” นั้นมีพื้นฐานความหมายมาจากคำว่าหัวใจ ต่อมาความหมายของภาษาก็ได้เปลี่ยนไปตามบริบทของวัฒนธรรมของภาษานั้นๆ ความหมายที่เกิดขึ้นใหม่ของคำว่าใจได้ครอบคลุมถึงความรู้สึกนึกคิดของคนรวมถึงความหมายที่แสดงให้เห็นถึงการเป็นหัวใจของนามธรรมและรูปธรรม ส่วนในด้านความแตกต่างนั้น คำว่า”ใจ” ไทยยังมีความถึงลมหายใจอีกด้วยซึ่งในภาษาจีนไม่มีในความหมายดังกล่าว จากผลวิจัยจะเห็นได้ว่าทฤษฎีอรรถศาสตร์ส่งผลความคล้ายคลึงของคำว่า”ใจ” ในภาษาจีนและไทย ส่วนปัจจัยทางด้านบริบทวัฒนธรรมไม่ว่าจะในด้านสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ประเพณีและวัฒนธรรมของแต่ละภาษาส่งผลต่อความแตกต่างของความหมายของคำว่าใจในภาษาจีนและไทย
Based on the theories of cognitive linguistics, this article makes a semantic cognitive comparison of the word "heart" in the "Modern Chinese Dictionary" and "Thai Royal Institute Dictionary " in order to discover the similarities and differences in semantic concepts, cultural connotations and cognitive methods of the "heart" in Chinese and Thai languages. We found that the meanings are basically same, the users of the two languages have a common cognitive style and also some differences. The semantic meaning of "heart" in both Chinese and Thai is based on the entity image of "heart", which leads to the meaning of "organs of thought and feelings " and the "center" of external entity space. The difference is that in Thai the "heart" have the meaning of "breath" The semantic similarities and differences of the words "heart" reflect the cognitive commonality of Chinese and Thai language users, and also reflect the cognitive differences caused by differences in natural geographical environment, social customs and culture.
บทความนี้เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์คำว่า “ใจ” ของภาษาจีนและภาษาไทยในด้านความหมายพื้นฐาน รวมถึงความหมายในบริบททางวัฒนธรรมของทั้ง 2 ภาษา โดยการศึกษานั้นใช้ทฤษฎีทางอรรถศาสตร์ปริชานเป็นทฤษฎีหลักในการวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งนี้คำว่าคำว่า “ใจ” ของภาษาจีนและภาษาไทยที่ผู้วิจัยนำมาวิเคราะห์อ้างอิงจากพจนานุกรมภาษาจีนสมัยใหม่ ฉบับตีพิมพ์ที่ 7 และพจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน ฉบับปีพศ.ที่ 2554 ผลจากการวิจัยค้นพบว่า คำว่า”ใจ” ในภาษาจีนและไทยนั้นมีจุดที่เหมือนและต่างกัน โดยในภาษาจีนและไทยคำว่า”ใจ” นั้นมีพื้นฐานความหมายมาจากคำว่าหัวใจ ต่อมาความหมายของภาษาก็ได้เปลี่ยนไปตามบริบทของวัฒนธรรมของภาษานั้นๆ ความหมายที่เกิดขึ้นใหม่ของคำว่าใจได้ครอบคลุมถึงความรู้สึกนึกคิดของคนรวมถึงความหมายที่แสดงให้เห็นถึงการเป็นหัวใจของนามธรรมและรูปธรรม ส่วนในด้านความแตกต่างนั้น คำว่า”ใจ” ไทยยังมีความถึงลมหายใจอีกด้วยซึ่งในภาษาจีนไม่มีในความหมายดังกล่าว จากผลวิจัยจะเห็นได้ว่าทฤษฎีอรรถศาสตร์ส่งผลความคล้ายคลึงของคำว่า”ใจ” ในภาษาจีนและไทย ส่วนปัจจัยทางด้านบริบทวัฒนธรรมไม่ว่าจะในด้านสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ประเพณีและวัฒนธรรมของแต่ละภาษาส่งผลต่อความแตกต่างของความหมายของคำว่าใจในภาษาจีนและไทย