Publication: “มุนิเวทาทฺริศาเกนฺเทฺร” และ “ศศิโกศาทฺริศาเกนฺเทฺร”: ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์บอกศักราชในจารึกเมืองเสมา ด้านที่ 2
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2022
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2672-9946 (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วรรณวิทัศน์
Volume
22
Issue
1
Edition
Start Page
29
End Page
53
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
“มุนิเวทาทฺริศาเกนฺเทฺร” และ “ศศิโกศาทฺริศาเกนฺเทฺร”: ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์บอกศักราชในจารึกเมืองเสมา ด้านที่ 2
Alternative Title(s)
“Munivedādriśākendre”and “Śaśikośādriśākendre”: Some SuggestionsRegarding the Words Indicating Era of the Second Side of Muang Sema inscription
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
จารึกเมืองเสมา (นม. 25, K. 1141) พบบริเวณเมืองเสมา ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา จารด้วยอักษรขอมโบราณ บันทึกด้วยภาษาสันสกฤตและเขมรโบราณ ระบุมหาศักราช 893 (พ.ศ. 1514) มีเนื้อหาว่าด้วยการแสดงความนอบน้อมต่อเทพในศาสนาฮินดู ยอพระเกียรติพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 และข้าราชการประดิษฐานรูปเคารพในศาสนาฮินดูและพุทธ พร้อมทั้งถวายข้าทาสและสิ่งของแด่ศาสนสถาน บทความนี้มุ่งเสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์ภาษาสันสกฤตที่บอกศักราชในด้านที่ 2 คือ คำว่า “มุนิเวทาทฺริศาเกนฺเทฺร” ในบรรทัดที่ 3 ควรแปลว่า “ในปีมหาศักราช 747 (พ.ศ. 1368)” และคำว่า “ศศิโกศาทฺริศาเกนฺเทฺร” ในบรรทัดที่ 5 ควรแปลว่า “ในปีมหาศักราช 751 (พ.ศ. 1372)” เนื้อหาในมหาศักราชทั้งสองดังกล่าวเป็นการเล่าเรื่องราวในอดีตที่สอดคล้องกับจารึกบ้านพันดุง (นม. 38) ที่พบบริเวณบ้านพันดุง ตำบลพันดุง อำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีอายุเก่ากว่าจารึกเมืองเสมาถึง 142 ปี ดังนั้น จารึกเมืองเสมาด้านที่ 2 นี้จึงเป็นการยืนยันประวัติศาสตร์ที่เคยเกิดขึ้นบริเวณเดียวกัน ทั้งยังแสดงให้เห็นว่าพื้นที่แห่งนี้มีความสำคัญและศักดิ์สิทธิ์ มีทั้งกลุ่มคนที่นับถือศาสนาฮินดูและพุทธอาศัยอยู่มาอย่างต่อเนื่อง