Publication:
“คุณธรรม” ใน “เจ้าผู้ปกครอง” ของมาคิอาเวลลี

dc.contributor.authorเพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์
dc.contributor.authorPhermsak Chariamphanen
dc.date.accessioned2023-12-16T06:41:27Z
dc.date.available2023-12-16T06:41:27Z
dc.date.issued2018
dc.date.issuedBE2561
dc.description.abstractบทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาถึงความหมายของ “คุณธรรม” ในงานเขียนเรื่อง “เจ้าผู้ปกครอง” ของ นิโคโล มาคิอาเวลลี โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ตัวบทโดยละเอียด ร่วมกับการสอบทานกับการตีความประเด็นดังกล่าวจากงานเขียนชั้นรองที่มีการตีความเอาไว้ ทั้งในงานที่เป็นการตีความโดยตรง และงานแปลตัวบทจากภาษาอิตาเลี่ยนต้นฉบับมาสู่ภาษาอังกฤษ ผลการศึกษาพบว่ามโนทัศน์ “คุณธรรม” ในตัวบทของมาคิอาเวลลี เป็นการใช้คำในบริบทของความหมายแบบคลาสสิคหรือคุณธรรมแบบอริสโตเติ้ล (Aristotelian Virtue) อันหมายถึงคุณสมบัติที่จะทำให้เจ้าผู้ปกครองสามารถปกครองหรือรักษารัฐโดยเจ้าผู้ปกครองเอาไว้ได้ โดยใช้หมุดหมายสำคัญคือการที่มาคิอาเวลลีกล่าวถึงคุณธรรมของคันธนู ซึ่งสอดคล้องกับคุณธรรมแบบคลาสสิคที่ไม่ผูกติดอยู่กับคุณสมบัติของมนุษย์ดังเช่นคติคุณธรรมแบบศีลธรรมที่แพร่หลายในโลกในยุคสมัยนั้นและในโลกร่วมสมัย มากไปกว่านั้น ผลการศึกษาจากการสำรวจการตีความโดยงานเขียนชั้นรอง และตัวบทที่มาจากการแปลตัวบทสำนวนต่าง ๆ ยังชี้นำให้เห็นว่า การศึกษางานของมาคิอาเวลลีอย่างลึกซึ้งรอบคอบ ไม่ควรที่จะกระทำโดยปราศจากการสำรวจเทียบเคียงการตีความและสำนวนแปลต่าง ๆ อย่างรอบด้าน
dc.description.abstractThis article mainly uses Textual Analysis method to study 'virtue' in Machiavelli's The Prince. It also compares with other secondary interpretation of the text and translated works from Italian to English. The study found that Machiavelli's 'virtue' was use in the way of Aristotelian Virtue, meaning characteristics of a prince to govern or reserve a state. This can be seen in virtue of bow analogy which accord to classical virtue dissociated from religious morality in that time and contemporary world.Moreover, perusing secondary and translated works also indicate that it is important to study The Prince by comparing other interpretation and translation of the work altogether.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/5005
dc.language.isoth
dc.subjectเจ้าผู้ปกครอง
dc.subjectคุณธรรม
dc.subjectมาคิอาเวลลี
dc.subjectความคิดทางการเมือง
dc.subjectPolitical Thought
dc.subjectThe Prince
dc.subjectVirtue
dc.subjectMachiavelli
dc.subject.isced0223 ปรัชญาและจริยธรรม
dc.subject.oecd6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา
dc.title“คุณธรรม” ใน “เจ้าผู้ปกครอง” ของมาคิอาเวลลี
dc.title.alternativeThe concept of “Virtue” in Machiavelli’s “The Prince”en
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID792
harrt.researchAreaปรัชญาตะวันตก
harrt.researchGroupปรัชญา
harrt.researchTheme.1ปรัชญาสังคมการเมือง
mods.location.urlhttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/jssnu/article/view/208687
oaire.citation.endPage60
oaire.citation.issue1
oaire.citation.startPage37
oaire.citation.titleวารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
oaire.citation.titleJournal of Social Sciences Naresuan University en
oaire.citation.volume14
Files