Publication: An Analysis of The House of Earth’s Main Characters from a Perspective of Socialist Feminism
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2017
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1905-2863
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Liberal Arts Review
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Volume
12
Issue
23
Edition
Start Page
1
End Page
13
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
An Analysis of The House of Earth’s Main Characters from a Perspective of Socialist Feminism
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์ตัวละครสําคัญในนวนิยายชุด The House of Earth จากมุมมองสตรีนิยมเชิงสังคมนิยม
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
In the 21st century, gender equality is seen a basic requirement for civilization, yet gender inequality still exists. Gender gap is an establishment of historical and cultural stereotypes that women are physically and mentally inferior to men, so they are given fewer opportunities. Great literature is made powerful to reflect and criticize gender inequality leading to women’s liberation. This study thus explores Pearl S. Buck’s The House of Earth Trilogy from a socialist feminism perspective aiming to identify barriers to gender inequality issues as reflected in the trilogy and find out solutions appropriate to empower women. The findings suggest that Chinese women’s low social status was mainly due to unequal social class and the patriarchy. Education enabled women to have professional work and consciously seek the equality of social status with men and freedom. Right education empowers women, and the civilization co-exists with gender equality in economic and cultural dimensions.
ในศตวรรษที่ 21 ความเสมอภาคทางเพศถูกมองว่าเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานในอารยสังคม แต่ความไม่เสมอภาคทางเพศยังปรากฎอยู่ช่องว่างระหว่างเพศเกิดจากการสร้างสามัญทัศน์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเกี่ยวกับสตรีว่ามีความด้อย ทางกายภาพและจิตใจกว่าบุรุษ จึงทําให้ ได้รับโอกาสน้อยกว่าสุดยอดวรรณกรรมถูกสร้างให้มีพลังเพื่อสะท้อนและวิจารณ์ความเหลื่อมล้ําทางเพศ ซึ่งนําไปสู่อิสรภาพของสตรี ดังนั้น บทความนี้จึงศึกษานวนิยายชุด The House of Earth จาก มุมมองสตรีนิยมเชิงสังคมนิยม เพื่อชี้ให้เห็นถึงอุปสรรคความเหลื่อมล้ําทางเพศที่สะท้อนในนวนิยายชุดและแนวทางแก้ไข ที่เหมาะสมในการเสริมสร้างพลังแก่สตรี ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าสถานะทางสังคมระดับต่ําของสตรีในประเทศจีนส่วนใหญ่เป็นผลมาจากชนชั้นทางสังคมที่เหลื่อมล้ํากันและระบบการปกครองแบบปิตาธิปไตย การศึกษาช่วยให้สตรีมีอาชีพและแสวงหาความเท่าเทียมด้านสถานภาพทางสังคมและเสรีภาพ ได้อย่างมีสติการศึกษาที่เหมาะสม ให้พลังสตรีและอารยธรรมร่วมกับความเสมอภาคทางเพศในมิติทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม.
ในศตวรรษที่ 21 ความเสมอภาคทางเพศถูกมองว่าเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานในอารยสังคม แต่ความไม่เสมอภาคทางเพศยังปรากฎอยู่ช่องว่างระหว่างเพศเกิดจากการสร้างสามัญทัศน์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเกี่ยวกับสตรีว่ามีความด้อย ทางกายภาพและจิตใจกว่าบุรุษ จึงทําให้ ได้รับโอกาสน้อยกว่าสุดยอดวรรณกรรมถูกสร้างให้มีพลังเพื่อสะท้อนและวิจารณ์ความเหลื่อมล้ําทางเพศ ซึ่งนําไปสู่อิสรภาพของสตรี ดังนั้น บทความนี้จึงศึกษานวนิยายชุด The House of Earth จาก มุมมองสตรีนิยมเชิงสังคมนิยม เพื่อชี้ให้เห็นถึงอุปสรรคความเหลื่อมล้ําทางเพศที่สะท้อนในนวนิยายชุดและแนวทางแก้ไข ที่เหมาะสมในการเสริมสร้างพลังแก่สตรี ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าสถานะทางสังคมระดับต่ําของสตรีในประเทศจีนส่วนใหญ่เป็นผลมาจากชนชั้นทางสังคมที่เหลื่อมล้ํากันและระบบการปกครองแบบปิตาธิปไตย การศึกษาช่วยให้สตรีมีอาชีพและแสวงหาความเท่าเทียมด้านสถานภาพทางสังคมและเสรีภาพ ได้อย่างมีสติการศึกษาที่เหมาะสม ให้พลังสตรีและอารยธรรมร่วมกับความเสมอภาคทางเพศในมิติทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม.