Publication: ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการทดลองใช้ภาษาเป้าหมาย ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Journal of Liberal Arts Thammasat University
Journal of Liberal Arts Thammasat University
Volume
21
Issue
1
Edition
Start Page
59
End Page
89
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการทดลองใช้ภาษาเป้าหมาย ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น
Alternative Title(s)
Students’ Satisfaction towards the Trial of Using the Target Language to Teach Japanese Pronunciation
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการทดลองใช้ภาษาเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น กลุ่มประชากร ได้แก่ นิสิตวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 3 จำนวน 9 คน ผลการศึกษาพบว่า ด้านความคาดหวังต่อการใช้ภาษาของผู้สอน ผู้เรียนประมาณครึ่งหนึ่งต้องการให้ผู้สอนใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นหลัก และอีกครึ่งหนึ่งต้องการให้ผู้สอนใช้ภาษาญี่ปุ่นควบคู่กับภาษาไทยในสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 71 ต่อ 29สำหรับความพึงพอใจต่อการบรรยายด้วยภาษาญี่ปุ่นของผู้สอน ในภาพรวมผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมาก หัวข้อที่ผู้เรียนเห็นด้วยมากที่สุด ได้แก่ “การสอนด้วยภาษาญี่ปุ่นของอาจารย์ชาวไทย เป็นการเพิ่มปริมาณการฟังภาษาญี่ปุ่น” “การที่อาจารย์ชาวไทยสอนโดยใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นหลักช่วยฝึกทักษะการฟังภาษาญี่ปุ่น” “ภาษาญี่ปุ่นที่อาจารย์ชาวไทยใช้ในห้องเรียนเข้าใจง่าย” และ “ท่านได้เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นจากภาษาญี่ปุ่นที่อาจารย์ชาวไทยใช้ในห้องเรียน” โดยสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากภาษาญี่ปุ่นที่อาจารย์ชาวไทยใช้ในห้องเรียน 3 อันดับแรก ได้แก่ “คำศัพท์” “การออกเสียง” และ “ภาษาพูดที่อาจไม่ตรงตามไวยากรณ์” ทั้งนี้ปัจจัยหลักที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการจัดการเรียนการสอนได้สำเร็จคือการประยุกต์ใช้แนวทางการกลับทางห้องเรียนโดยให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาการเรียนรู้ด้วยตนเองจากตำราและทำใบงานส่งล่วงหน้า