Publication: Portrayals of Iranian Women in Marjane Satrapi’s “Embroideries (2005)”: A Multimodal Analysis
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2286-9395 (Print), 2697-441X (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Humanities and Social Sciences, University of Phayao
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
Volume
9
Issue
2
Edition
Start Page
129
End Page
152
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Portrayals of Iranian Women in Marjane Satrapi’s “Embroideries (2005)”: A Multimodal Analysis
Alternative Title(s)
ภาพลักษณ์สตรีชาวอิหร่านในนิยายภาพเรื่อง “Embroideries (2005)” ของ Marjane Satrapi: การวิเคราะห์การสร้างความหมายแบบพหุวิธี
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
Since the lives of veiled women especially in Iran have become academic interests regarding gender stereotype and sexism, several studies have purposed various perspectives on how they live, struggle and negotiate their power in the society. To extend this line of research, this study therefore aims at investigating the portrayals of Iranian women in Marjane Satrapi’s Embroideries by employing Multimodal Analysis (MA). Words and images were taken into account for analysis that were then divided into five main issues to discuss: colors, symbolic embroideries, Satrapi’s grandmother, speech bubble and panel frame and universal topics. The findings revealed that women’s rights in Iran are oppressed by patriarchal and religious tradition, which ideologically align with the Middle East women stereotype. Interestingly, this memoir also portrays the images of Iranian women that contradict the traditions by presenting the pictures of unveiled women and the issues of plastic surgery and surgical procedure of women’s virginity restoration discussed among them. In addition to this, the author presents the hidden part of Iranian women, behind the closed door when men are away, where they straighten their power by using the universal strategy just like all women in the whole world do –gossip –to survive the hardship. However, the limitation of this study is recognized as the story was narrated through only the author’s lens. Therefore, the results and interpretations were specific and limited and might not be generalized to all women in Iranian society.
นับตั้งแต่ชีวิตสตรีมุสลิมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอิหร่านได้รับความสนใจในทางวิชาการเพื่อการศึกษาเรื่องลักษณะเฉพาะทางเพศ (gender stereotype) และการกีดกันทางเพศ (sexism) งานวิจัยหลายเรื่องได้มุ่งเน้นศึกษาสภาพความเป็นอยู่ การต่อสู้และการต่อรองทางอำนาจของสตรีมุสลิมในสังคม เพื่อเป็นการเพิ่มขอบเขตงานวิจัยในลักษณะที่กล่าวมานั้น งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาการนำเสนอภาพลักษณ์ของสตรีชาวอิหร่านในนิยายภาพเรื่อง Embroideries ซึ่งเขียนโดย Marjane Satrapi ในปี ค.ศ. 2005 โดยการใช้การวิเคราะห์การสร้างความหมายแบบพหุวิธี (Multimodal Analysis) ผ่านคำและภาพประกอบ การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งได้ 5 หัวข้อหลักได้แก่ สี สัญลักษณ์การเย็บปัก คุณยายของSatrapi ฟองน้ำคำพูดและกรอบ และหัวข้อที่เป็นสากล ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า สิทธิของสตรีชาวอิหร่านถูกกดทับโดยขนบธรรมเนียมทางศาสนาและวัฒนธรรมชายเป็นใหญ่ซึ่งเป็นไปตามการเหมารวมทางอุดมคติที่มีต่อผู้หญิงที่อาศัยอยู่ในแถบตะวันออกกลาง แต่ที่น่าสนใจก็คือผู้วิจัยได้พบว่าบันทึกของ Satrapi ได้นำเสนอภาพลักษณ์ของสตรีชาวอิหร่านที่ไปขัดแย้งกับขนบธรรมเนียม อาทิเช่น การนำเสนอภาพผู้หญิงที่ไม่คลุมฮิญาบ การพูดคุยเรื่องการทำศัลยกรรมและขั้นตอนการผ่าตัดเพื่อซ่อมแซมเยื่อพรหมจารี นอกจากนั้นแล้วผู้เขียนยังนำเสนอพฤติกรรมของสตรีชาวอิหร่านที่มักจะชอบทำร่วมกันเมื่ออยู่ในที่ลับตาจากผู้ชายนั่นก็คือการนินทาซึ่งถือว่าเป็นกลยุทธ์สากลสำหรับผู้หญิงในการแสดงพลังอำนาจเมื่ออยู่ในกลุ่มของพวกเธอ แต่อย่างไรก็ตามการเล่าเรื่องใน Embroideries ได้ถูกถ่ายทอดจากมุมมองของ Satrapi แต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น จึงทำให้ผลของการวิจัยและการตีความของงานวิจัยชิ้นนี้ค่อนข้างเฉพาะและจำกัดและอาจจะไม่สามารถตีความครอบคลุมถึงภาพลักษณ์ของสตรีชาวอิหร่านทุกคนในสังคมนั้นได้
นับตั้งแต่ชีวิตสตรีมุสลิมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอิหร่านได้รับความสนใจในทางวิชาการเพื่อการศึกษาเรื่องลักษณะเฉพาะทางเพศ (gender stereotype) และการกีดกันทางเพศ (sexism) งานวิจัยหลายเรื่องได้มุ่งเน้นศึกษาสภาพความเป็นอยู่ การต่อสู้และการต่อรองทางอำนาจของสตรีมุสลิมในสังคม เพื่อเป็นการเพิ่มขอบเขตงานวิจัยในลักษณะที่กล่าวมานั้น งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาการนำเสนอภาพลักษณ์ของสตรีชาวอิหร่านในนิยายภาพเรื่อง Embroideries ซึ่งเขียนโดย Marjane Satrapi ในปี ค.ศ. 2005 โดยการใช้การวิเคราะห์การสร้างความหมายแบบพหุวิธี (Multimodal Analysis) ผ่านคำและภาพประกอบ การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งได้ 5 หัวข้อหลักได้แก่ สี สัญลักษณ์การเย็บปัก คุณยายของSatrapi ฟองน้ำคำพูดและกรอบ และหัวข้อที่เป็นสากล ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า สิทธิของสตรีชาวอิหร่านถูกกดทับโดยขนบธรรมเนียมทางศาสนาและวัฒนธรรมชายเป็นใหญ่ซึ่งเป็นไปตามการเหมารวมทางอุดมคติที่มีต่อผู้หญิงที่อาศัยอยู่ในแถบตะวันออกกลาง แต่ที่น่าสนใจก็คือผู้วิจัยได้พบว่าบันทึกของ Satrapi ได้นำเสนอภาพลักษณ์ของสตรีชาวอิหร่านที่ไปขัดแย้งกับขนบธรรมเนียม อาทิเช่น การนำเสนอภาพผู้หญิงที่ไม่คลุมฮิญาบ การพูดคุยเรื่องการทำศัลยกรรมและขั้นตอนการผ่าตัดเพื่อซ่อมแซมเยื่อพรหมจารี นอกจากนั้นแล้วผู้เขียนยังนำเสนอพฤติกรรมของสตรีชาวอิหร่านที่มักจะชอบทำร่วมกันเมื่ออยู่ในที่ลับตาจากผู้ชายนั่นก็คือการนินทาซึ่งถือว่าเป็นกลยุทธ์สากลสำหรับผู้หญิงในการแสดงพลังอำนาจเมื่ออยู่ในกลุ่มของพวกเธอ แต่อย่างไรก็ตามการเล่าเรื่องใน Embroideries ได้ถูกถ่ายทอดจากมุมมองของ Satrapi แต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น จึงทำให้ผลของการวิจัยและการตีความของงานวิจัยชิ้นนี้ค่อนข้างเฉพาะและจำกัดและอาจจะไม่สามารถตีความครอบคลุมถึงภาพลักษณ์ของสตรีชาวอิหร่านทุกคนในสังคมนั้นได้