Publication: ศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดเรื่องความสุขในทฤษฎีจริยศาสตร์ ของอายน์ แรนด์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดเรื่องความสุขในทฤษฎีจริยศาสตร์ ของอายน์ แรนด์
Alternative Title(s)
THE CRITICAL ANALYSIS OF THE CONCEPT OF HAPPINESS IN AYN RAND'S ETHICAL THEORY
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การศึกษาวิจัยเรื่อง "ศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดเรื่องความสุขในจริยศาสตร์ของอายน์ แรนด์" มี วัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) ศึกษาแนวคิดทางปรัชญาวัตถุวิสัยนิยม (Objectivism) ของอายน์แรนด์ ๒) ศึกษาแนวความคิดแนวความคิดทางจริยศาสตร์ของอายน์ แรนด์ ๓) ศึกษาวิเคราะห์การอ้างเหตุผลสนับสนุนจริยศาสตร์ของอายน์ แรนด์ ผลการวิจัยพบว่า ความสุขตามทัศนะของอายน์ แรนด์ (Ayn Rand) คือ ความรู้สึกถึงสภาวะการประสบความสำเร็จในชีวิต และความทุกข์เป็นตัวแทนของความตาย ความสุขเป็นสภาวะความสำนึกรู้ที่เกิดขึ้นจากการบรรลุความสำเร็จในคุณค่าของตน แนวความคิดเรื่องความสุขในจริยศาสตร์ของอายน์ แรนด์ มุ่งเน้นจริยศาสตร์ที่เป็นรูปธรรมหรือลัทธิวัตถุวิสัยนิยม (Objectivism) เป็นปรัชญาสุขนิยมแบบอัตตัตถนิยม (egoistic hedonism) การดำเนินชีวิตนั่นเป็น กระบวนการของการช่วยเหลือตนเอง และการก่อกำเนิดสิ่งต่างๆ ตัวยตนเอง มนุษย์มีเสรีภาพที่จะทำกิจกรรมต่างๆ ตามความต้องการทางธรรมชาติ มีเสรีภาพในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินของตนเอง มีเสรีภาพที่จะประสบความสำเร็จรวมทั้งความสุข ความเพลิดเพลินในชีวิตของตนเอง โดยปราศจากการบังคับ การข่มขู่ หรือการแทรกแซงจากผู้อื่น ทั้งชีวิตและความสุขไม่สามารถที่จะ บรรลุได้ด้วยความเพ้อเจอปราศจากเหตุผล แม้ว่ามนุษย์จะมีอิสระที่จะเลือกดำรงชีวิตด้วยการสุ่มหาทางเดินชีวิตของตน หรือด้วยการทำตนเองเหมือนกาฝาก หรือเป็นผู้ลักขโมยแย่งชิงจากผู้อื่นแต่มนุษย์ไม่มีอิสระที่จะหลบเลี่ยงผลของการกระทำที่เกิดขึ้นตามมา แม้ว่ามนุษย์มีอิสระที่จะแสวงหาความสุขด้วยการหลอกตนเองโดยไม่มีเหตุผล หรือด้วยความเพ้อเจ้อ หรือด้วยการหลีกหนีความเป็นจริงแต่มนุษย์ไม่มีอิสระจากผลที่เกิดขึ้นตามมาหรือหลีกเลี่ยงผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมา ทัศนะของนักปรัชญาอายน์ แรนด์ ( Ay Rลทd) นั้นมุ่งนันที่ปัจเจกบุคล (ndivdนล) ตามจริยศาสตร์ที่ เป็นรูปธรรมนั้น มีวิธีการสำคัญ ๒ วิธี เพื่อความอยู่รอดที่เหมาะสมกับ สิ่งมีชีวิตที่มีเหตุผล คือ ๑) การคิด ๒) การทำงานที่ให้ผลผลิตสูง ความมีเหตุผลเป็นความดีพื้นฐานของมนุษย์เป็นตันกำเนิดของความดีอื่น ความไม่มีเหตุผล คือ การปฏิเสธแนวทางการอยู่รอดของมนุษย์ มนุษย์ต้องพิจารณาเป้าหมายและการกระทำต่างๆ ด้วยการคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง การกระทำต่างๆ ต้องก่อให้เกิดผลผลผลิตสูง เมื่อ มนุษย์ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิตของตน ความสุของตนย่อมเกิดขึ้นตามมา ดังนั้น ทัศนะสุขนิยมของอายน์ แรนด์ ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของลัทธิวัตถุวิสัยนิยม จึงจัดเป็นอัตตัตถนิยมแบบมีเหตุผล ที่ก่อให้เกิดความสุขได้แท้จริง
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาเอก
Degree Department
บัณฑิตวิทยาลัย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย