Publication: เว็บบล็อกการเมืองไทยกับการสื่อสารทางการเมือง
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2019
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารสารสนเทศศาสตร์
Volume
37
Issue
4
Edition
Start Page
72
End Page
91
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
เว็บบล็อกการเมืองไทยกับการสื่อสารทางการเมือง
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาของเว็บบล็อกการเมืองไทยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ระหว่างปี พ.ศ.2554-2557 เพื่อศึกษาบทบาทของเว็บบล็อกในการสื่อสารการเมืองไทย ผลการศึกษาพบว่า ผู้เขียนเว็บบล็อกการเมืองไทยที่มีโพสต์มากที่สุด คือ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ผู้เขียนเว็บบล็อก (เว็บบล็อกเกอร์) ส่วนใหญ่ระบุว่ามีความเชี่ยวชาญสาขาประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ ผู้เขียนเว็บบล็อกการเมืองไทยร้อยละ 53.08 ไม่ระบุข้อมูลสำหรับการติดต่อไว้ในเว็บบล็อก หัวเรื่องภาษาไทยในเว็บบล็อกอันดับแรก ได้แก่ ความรุนแรงทางการเมือง (Political violence) โพสต์ส่วนใหญ่ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ และไม่มีผู้แสดงความคิดเห็น หากมีการแสดงความคิดเห็นจะเป็นความคิดเห็นในเชิงสนับสนุนโดยไม่มีการระบุตัวตน (Anonymous) และโพสต์ส่วนใหญ่เป็นการรีโพสต์จากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ โดยแหล่งข้อมูลที่มีการรีโพสต์มากที่สุดคือ มติชนออนไลน์ (www.matichon.co.th) ผู้เขียนโพสต์มีวัตถุประสงค์ในการเขียนเพื่อวิพากษ์วิจารณ์และเพื่อให้ข้อมูลทางการเมืองจึงสรุปได้ว่า เว็บบล็อกการเมืองไทยมีบทบาทในการสื่อสารทางการเมือง 3 บทบาทหลัก ได้แก่ การเป็นบันทึกทางสังคม (Social Narrative)การเป็นแหล่งแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ทางการเมืองไทย (Thai political knowledge weblogs) และการเป็นพื้นที่สำหรับการมีส่วนร่วมทางการเมืองไทยออนไลน์