Publication: The Use of Modal Devices for Volition (Intention) and Prediction in “The Lord of the Rings”: Looking inside the Mind of J. R. R. Tolkien through the Main Protagonist, “Frodo”
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
0859-3485
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Humanities Journal
วารสารมนุษยศาสตร์
วารสารมนุษยศาสตร์
Volume
25
Issue
2
Edition
Start Page
116
End Page
142
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
The Use of Modal Devices for Volition (Intention) and Prediction in “The Lord of the Rings”: Looking inside the Mind of J. R. R. Tolkien through the Main Protagonist, “Frodo”
Alternative Title(s)
การใช้ทัศนะภาวะแสดงความตั้งใจและการคาดเดาในวรรณกรรม เรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์: การมองสภาพจิตใจของเจ.อาร์.อาร์.โทลคีน ผ่านตัวละครหลักโฟรโด
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This study attempts to analyze modal devices used by Tolkien through the main protagonist, Frodo Baggins, in the novel The Lord of the Rings to reveal how modal devices reflect Frodo’s psychological changes in the course of the story. It is believed that the character, “Frodo”, was created in the traumatically driven mind of the author himself, who suffered from his experiences in World Wars I and II (Manners, 2006). Modality is the semantic notion that covers a broad range of semantic sensesexpressed by the speaker, including the notion of volition (intention) and prediction. These modal senses can be expressed through the use of modal devices (Bybee & Fleischman, 1995; Frawley, 2005). The author’s use of modal devices allows him to express himself through the main protagonist’s speeches and thoughts. Thus, Frodo’s psychological changes as the story progresses can be observed through the author’s use of modal devices. The theoretical framework used in this study was adapted from Quirk’s grammatical framework of modal auxiliaries (1985) and Halliday and Matthiessen’s semi-modal systems (2014).The comparative results of modal usage from the beginning to the end of the story were created using the frequency of modal devices. It was found that the use of volition can reveal Frodo’s inner determination, while the use of prediction shows a part of Frodo’s anxiety.
จุดประสงค์หลักของงานวิจัยนี้คือ เพื่อศึกษาการใช้คำแสดงทัศนะภาวะ (modal devices) ของโทลคีน จากนวนิยายเรื่องเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ เพื่อศึกษาความเกี่ยวข้องระหว่างการใช้คำแสดงทัศนะภาวะกับการเปลี่ยนแปลงนิสัยของโฟรโด ซึ่งเป็นตัวละครเอกของเรื่อง นักจิตวิทยานามว่า Manners (2006) เชื่อว่าโทลคีนสร้างโฟรโดขึ้นมา เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์สมัยสงครามโลกของเขาทัศนภาวะ (modality) ถือเป็นอรรถศาสตร์ที่ครอบคลุมความหมายหลายๆ ด้านเช่นความตั้งใจ (volition) และการคาดเดา(prediction) ความหมายที่แสดงทัศนะภาวะเหล่านี้สามารถแสดงออกได้ด้วยการใช้คำแสดงทัศนะภาวะ การใช้คำแสดงทัศนะภาวะของผู้เขียนใช้เพื่อถ่ายทอดความหมายดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวผู้เขียนกับโฟรโด รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางสภาวะจิตใจของโฟรโดขณะที่เนื้อเรื่องดำเนินไปด้วยได้มากกว่าความหมายด้านอื่นๆ กรอบความคิดเรื่องการแบ่งประเภทค าแสดงทัศนะภาวะในงานวิจัยนี้ประยุกต์มาจากกรอบแนวคิดการวิจัยเกี่ยวกับทัศนภาวะของ Quirket al. (1985) และกรอบแนวคิดการวิจัยเกี่ยวกับทัศนภาวะของ Halliday กับ Matthiessen (2014) จากผลการเปรียบเทียบจำนวนคำแสดงทัศนะภาวะที่ใช้ตั้งแต่ต้นเรื่องถึงท้ายเรื่อง พบว่าทัศนภาวะด้านความตั้งใจ (volition) เผยให้เห็นความตั้งใจที่แท้จริงของโฟรโด และทัศนภาวะด้านการคาดเดา (prediction) แสดงให้เห็นถึงความกังวลบางส่วนของโฟรโด
จุดประสงค์หลักของงานวิจัยนี้คือ เพื่อศึกษาการใช้คำแสดงทัศนะภาวะ (modal devices) ของโทลคีน จากนวนิยายเรื่องเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ เพื่อศึกษาความเกี่ยวข้องระหว่างการใช้คำแสดงทัศนะภาวะกับการเปลี่ยนแปลงนิสัยของโฟรโด ซึ่งเป็นตัวละครเอกของเรื่อง นักจิตวิทยานามว่า Manners (2006) เชื่อว่าโทลคีนสร้างโฟรโดขึ้นมา เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์สมัยสงครามโลกของเขาทัศนภาวะ (modality) ถือเป็นอรรถศาสตร์ที่ครอบคลุมความหมายหลายๆ ด้านเช่นความตั้งใจ (volition) และการคาดเดา(prediction) ความหมายที่แสดงทัศนะภาวะเหล่านี้สามารถแสดงออกได้ด้วยการใช้คำแสดงทัศนะภาวะ การใช้คำแสดงทัศนะภาวะของผู้เขียนใช้เพื่อถ่ายทอดความหมายดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวผู้เขียนกับโฟรโด รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางสภาวะจิตใจของโฟรโดขณะที่เนื้อเรื่องดำเนินไปด้วยได้มากกว่าความหมายด้านอื่นๆ กรอบความคิดเรื่องการแบ่งประเภทค าแสดงทัศนะภาวะในงานวิจัยนี้ประยุกต์มาจากกรอบแนวคิดการวิจัยเกี่ยวกับทัศนภาวะของ Quirket al. (1985) และกรอบแนวคิดการวิจัยเกี่ยวกับทัศนภาวะของ Halliday กับ Matthiessen (2014) จากผลการเปรียบเทียบจำนวนคำแสดงทัศนะภาวะที่ใช้ตั้งแต่ต้นเรื่องถึงท้ายเรื่อง พบว่าทัศนภาวะด้านความตั้งใจ (volition) เผยให้เห็นความตั้งใจที่แท้จริงของโฟรโด และทัศนภาวะด้านการคาดเดา (prediction) แสดงให้เห็นถึงความกังวลบางส่วนของโฟรโด