Publication: แนวคิดเรื่องความหลากเลื่อนของ ฌากส์ แดร์ริดา
dc.contributor.author | อารีรัตน์ ภิราษร | |
dc.contributor.author | Areerut Pirasorn | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T06:40:48Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T06:40:48Z | |
dc.date.issued | 2019 | |
dc.date.issuedBE | 2562 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์บทบาทของพระฉัพพัคคีย์ต่อการบัญญัติวินัยของพระพุทธเจ้าในคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาท รูปแบบเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพจากเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า ในสมัยพุทธกาล มีสหายชาย 6 คน คือ บัณฑุกะ โลหิตกะ เมตติยะ ภุมมชกะ อัสสชิ ปุนัพพสุกะ ก่อนบวช มีอาชีพทำกสิกรรม เกิดความขัดสนจึงวางแผนเข้ามาบวชเป็นพระผู้ช่วยในสำนักพระอัครสาวก ชอบรวมกลุ่มกันจึงถูกเรียกว่า “ฉัพพัคคีย์” ภิกษุฉัพพัคคีย์มีบทบาทต่อการบัญญัติวินัยของพระพุทธเจ้าอยู่สองฐานะคือ เป็นมูลบัญญัติ และเป็นอนุบัญญัติ ในบรรดา 227 สิกขาบท พระฉัพพัคคีย์เป็นต้นเหตุของการบัญญัติสิกขาบทที่เรียกว่า มูลบัญญัติถึง 128 ข้อ ได้แก่ สังฆาทิเสส 3 นิสสัคคียปาจิตตียกัณฑ์ 12 ปาจิตตียกัณฑ์ 40 ปาฏิเทสนียกัณฑ์ 1 เสขิยกัณฑ์ 72 และเป็นต้นเหตุของการบัญญัติสิกขาบทเพิ่มเติม ทีเรียกว่า “อนุบัญญัติ” อีก 2 ข้อ คือ ปาราชิกสิกขาบทที่ 2 และที่ 3 รวมทั้งหมด 130 สิกขาบท ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในฐานะเป็น ต้นเหตุของการบัญญัติวินัยเพียงอนิยตกัณฑ์เท่านั้น ในแง่บทบาทส่วนตัวและบทบาทกลุ่มพบว่า บทบาทส่วนตัวของภิกษุฉัพพัคคีย์ มี 4 รูป 4 สิกขาบท ได้แก่ พระเมตติยะและพระภุมมชกะ 3 สิกขาบท คือ สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ 8 และ 9 และปาจิตตีย์สิกขาบทที่ 13 พระอัสสชิและ ปุนัพพสุกะ 1 สิกขาบท คือ สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ 13 ล้วนเป็นบทบาทในฐานะมูลบัญญัติ บทบาทกลุ่มในนาม “พวกภิกษุฉัพพัคคีย์” มีอยู่ทั้งหมด 126 สิกขาบท แบ่งเป็น ปาราชิก 2 สิกขาบท นิสสัคคียปาจิตตีย์ 12 สิกขาบท ปาจิตตีย์ 39 สิกขาบท ปาฏิเทสนียะ 1 สิกขาบท และเสขิยะ 72 สิกขาบทมีทั้งบทบาทในฐานะเป็นมูลบัญญัติและอนุบัญญัติ บทบาทกลุ่มแบ่งเป็น กลุ่มภิกษุฉัพพัคคีย์เมืองสาวัตถี 115 สิกขาบท รองลงมาเป็นกลุ่มภิกษุฉัพพัคคีย์เมืองราชคฤห์ 4 สิกขาบท กลุ่มภิกษุฉัพพัคคีย์เมืองเวสาลีและแคว้นสักกะกลุ่มละ 3 สิกขาบท และสุดท้ายกลุ่มภิกษุฉัพพัคคีย์เมือง อาฬวี จำนวน 1 สิกขาบท | |
dc.description.abstract | The objective of this research was aim to analyses of the Phra Chabbaggi-ya’s roles towards disciplines enacted by the lord Buddha in Theravada Buddhist’s scriptures. It was a documentary research. The result of research was found that in the Buddha’s time there were six men-friends namely Pandhuka Lohittaka Mettiya Bhummajaka Assaji and Punab-basuka. They spent live as farmer. They planted a monkhood as an assistance in school of two highest monks beaus of the lack of proper’s. After that they liked to group altogether so called “Chabbaggiya”.There were two kinds of roles according to Phra-chabbaggiya for the dis-ciplines enacted by the lord Buddha which called the primary and the secondary cause.In all 227 disciplines enacted by the lord Buddha, there were 128 disciplines as primary causes belonging to Phra-chabbaggiya categories as 3 Sanghadisesa, 12 Nissaggiyapacittiya, 40 Pacittiya, 1 Patitesaniya and 72 in Sekhiya. Only 2 in Parajikka were a secondary causes. Phra-chabbaggiya and their followers had no role only in Aniyatakandha.By the personal and group role side, it found that there were four personal roles, the role of Mettiya and Bhummajaka in 3 disciplines i.e. the eight and the ninth of Sanghatisesa and thirteenth of Pacittiya, and 1 role of Assaji and Punab-basuka in thirteenth Sanghatises. In the name of the group, Chabbaggiabhikkhus played an important role for enacting 126 divisions of disciplines, i.e., 2 Parajikas, 12 Nissaggiyapacittiyas, 39 Pacittiyas, 1 Pathitesaniya and 72 Sekhiyas. All were regarded as both primary and secondary enacted causes. By the role of the group, it was certainly divided that the group of Chab-baggiybhikkus in Savatdhi enacted 115 disciplines, the group in Rajagaha enacted 4 disciplines, the group in Vesali and Sakka state enacted 3 disciplines, and the group in Alavi enacted 1 discipline. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4935 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | ความหลากเลื่อน | |
dc.subject | ฌาคส์ แดร์ริดา | |
dc.subject | หลังโครงสร้างนิยม | |
dc.subject | Différance | |
dc.subject | Deconstruction | |
dc.subject | Derrida | |
dc.subject | Post-Structuralism | |
dc.subject.isced | 0223 ปรัชญาและจริยธรรม | |
dc.subject.oecd | 6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา | |
dc.title | แนวคิดเรื่องความหลากเลื่อนของ ฌากส์ แดร์ริดา | |
dc.title.alternative | Jacques Derrida’s Concept of Différance | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 893 | |
harrt.researchArea | ปรัชญาตะวันตก | |
harrt.researchGroup | ปรัชญา | |
harrt.researchTheme.1 | ประวัติปรัชญา | |
harrt.researchTheme.2 | ปรัชญาฝรั่งเศส | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/panidhana/article/view/187754 | |
oaire.citation.endPage | 56 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 33 | |
oaire.citation.title | วารสารปณิธาน | |
oaire.citation.title | Panidhana Journal | en |
oaire.citation.volume | 15 |