Publication: 对泰国学生汉语声调教学的实验语音研究
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2015
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
中國學研究期刊
Chinese Studies Journal
วารสารจีนศึกษา
Chinese Studies Journal
วารสารจีนศึกษา
Volume
8
Issue
1
Edition
Start Page
24
End Page
37
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
对泰国学生汉语声调教学的实验语音研究
Alternative Title(s)
An Experimental Phonetic Research on Teaching Mandarin Tones to Thai Students
การศึกษาวิจัยการสอนวรรณยุกต์ภาษาจีนแก่นักเรียนชาวไทย
การศึกษาวิจัยการสอนวรรณยุกต์ภาษาจีนแก่นักเรียนชาวไทย
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
本研究的目的在于考察把PRAAT语音分析软件作为辅助教学工具运用于对泰汉语普通话四声教学中能否帮助学习者更有效地习得四声发音。为了达到此目的,本研究以泰国皇太后大学汉语言文化专业一年级的两个班共46名新生为研究对象,建立控制组和实验组。录下被试的四声发音,记为前测。对两组实施为期两周的声调教学,但只对实验组的被试展示通过PRAAT语音软件分析出的被试典型发音偏误声谱图,同时让被试听到对应的发音。再分别在教学后录下被试的四声发音后测。对发音前后测的统计学测试表明PRAAT对泰国学生声调调型上的帮助大于调域,建议可有针对性地将PRAAT运用于阳平和上声的教学中。此外,发音前测还反映出泰籍学生的一种新偏误类型,即上声的先降后升再降的多曲折调型。
The objective of this study is to explore whether applying PRAAT, as a supplementary teaching tool, can affect the acquisition of Mandarin tones of Thai learners. To test its effect, 46 freshmen majoring Chinese Language and Culture at Mae Fah Luang University were divided into two classes: Control Group and Experimental Group. The initial four-tone pronunciations of both groups were recorded in the pre-test. Tone teaching was implemented in both groups for two weeks, but visual and audio feedback of error examples was only given to the Experimental Group. Then, the four-tone pronunciations were recorded again in the post-test one week after the teaching. Statistical tests were used to determine the effect of the supplementary teaching tool. The results indicate that PRAAT is a more helpful tool in tone type than in tone domain. Therefore, it can be suggested to apply PRAAT in teaching the second and the third Mandarin tones to Thai learners with pertinence. Moreover, a newly found type of error for the third tone is also clearly presented in the pronunciation pre-test.
งานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์คือการนำโปรแกรมการวิเคราะห์เสียง PRAAT มาเป็นอุปกรณ์ช่วยในการเรียนการสอนเพื่อดูว่ามีส่วนในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผันเสียงวรรณยุกต์ภาษาจีนหรือไม่ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ งานวิจัยฉบับนี้จึงทดสอบจากนักศึกษาระดับปริญญาตรี เอกภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ชั้นปีที่ 1 จำนวน 46 คน กำหนดเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มรับการทดลอง ทำการบันทึกเสียงการใช้วรรณยุกต์ก่อนการทดสอบ หลังจากนั้นดำเนินการสอนวรรณยุกต์เป็นเวลาสองสัปดาห์ แต่จะใช้โปรแกรม PRAAT จากบททดสอบพื้นฐานการใช้วรรณยุกต์ผิดพลาดที่เกิดขึ้นบ่อยกับกลุ่มรับการทดสอบเท่านั้น ในขณะเดียวกันก็ให้พวกเขาฟังรูปแบบการใช้วรรณยุกต์ที่ถูกต้อง และทดสอบหลังจากรับการเรียนการสอนอีกครั้งหนึ่ง นำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลการทดสอบทั้งสองครั้ง และประมวลผลในรูปของสถิติเพื่อดูว่าโปรแกรมดังกล่าวมีผลต่อการเรียนการสอนอย่างไรบ้าง ซึ่งประเด็นหลักคือการเสนอแนะการใช้โปรแกรมดังกล่าวในการเรียนเสียงสองและเสียงสามโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ในการทดสอบก่อนเรียนยังสะท้อนข้อผิดพลาดในการผันเสียงวรรณยุกต์รูปแบบใหม่ของนักเรียนไทย นั่นคือ การผันเสียงสามโดยมีลักษณะการผันเสียงต่ำสูงต่ำ
The objective of this study is to explore whether applying PRAAT, as a supplementary teaching tool, can affect the acquisition of Mandarin tones of Thai learners. To test its effect, 46 freshmen majoring Chinese Language and Culture at Mae Fah Luang University were divided into two classes: Control Group and Experimental Group. The initial four-tone pronunciations of both groups were recorded in the pre-test. Tone teaching was implemented in both groups for two weeks, but visual and audio feedback of error examples was only given to the Experimental Group. Then, the four-tone pronunciations were recorded again in the post-test one week after the teaching. Statistical tests were used to determine the effect of the supplementary teaching tool. The results indicate that PRAAT is a more helpful tool in tone type than in tone domain. Therefore, it can be suggested to apply PRAAT in teaching the second and the third Mandarin tones to Thai learners with pertinence. Moreover, a newly found type of error for the third tone is also clearly presented in the pronunciation pre-test.
งานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์คือการนำโปรแกรมการวิเคราะห์เสียง PRAAT มาเป็นอุปกรณ์ช่วยในการเรียนการสอนเพื่อดูว่ามีส่วนในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผันเสียงวรรณยุกต์ภาษาจีนหรือไม่ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ งานวิจัยฉบับนี้จึงทดสอบจากนักศึกษาระดับปริญญาตรี เอกภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ชั้นปีที่ 1 จำนวน 46 คน กำหนดเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มรับการทดลอง ทำการบันทึกเสียงการใช้วรรณยุกต์ก่อนการทดสอบ หลังจากนั้นดำเนินการสอนวรรณยุกต์เป็นเวลาสองสัปดาห์ แต่จะใช้โปรแกรม PRAAT จากบททดสอบพื้นฐานการใช้วรรณยุกต์ผิดพลาดที่เกิดขึ้นบ่อยกับกลุ่มรับการทดสอบเท่านั้น ในขณะเดียวกันก็ให้พวกเขาฟังรูปแบบการใช้วรรณยุกต์ที่ถูกต้อง และทดสอบหลังจากรับการเรียนการสอนอีกครั้งหนึ่ง นำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลการทดสอบทั้งสองครั้ง และประมวลผลในรูปของสถิติเพื่อดูว่าโปรแกรมดังกล่าวมีผลต่อการเรียนการสอนอย่างไรบ้าง ซึ่งประเด็นหลักคือการเสนอแนะการใช้โปรแกรมดังกล่าวในการเรียนเสียงสองและเสียงสามโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ในการทดสอบก่อนเรียนยังสะท้อนข้อผิดพลาดในการผันเสียงวรรณยุกต์รูปแบบใหม่ของนักเรียนไทย นั่นคือ การผันเสียงสามโดยมีลักษณะการผันเสียงต่ำสูงต่ำ