Publication: การใช้คำแสดงการรับรู้ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยระดับกลางขึ้นไป
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Journal Studies
Japanese Journal Studies
Volume
37
Issue
1
Edition
Start Page
27
End Page
43
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การใช้คำแสดงการรับรู้ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยระดับกลางขึ้นไป
Alternative Title(s)
Back-channels Expressions Usage of Thai Japanese-Language Learners with Intermediate Level Upward
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงลักษณะการใช้คำแสดงการรับรู้「あいづち」 ในการสนทนากับชาวญี่ปุ่นของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยระดับกลางขึ้นไปโดยเปรียบเทียบกับการใช้คำแสดงการรับรู้ของชาวญี่ปุ่น เก็บข้อมูลโดยใช้ 1.แบบสอบถาม 2.การจำลองสถานการณ์การสนทนาในชีวิตประจำวันหัวข้อสนทนาอิสระ จากนั้นวิเคราะห์ผลการใช้คำแสดงการรับรู้ผลการศึกษาวิจัยพบว่า1.ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยใช้คำแสดงการรับรู้น้อย 2.ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยใช้ภาษาไทยปะปนในการสนทนา 3.ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยใช้กลุ่มคำ うん系 ซึ่งเป็นกลุ่มคำที่ผู้เรียนพบเห็นบ่อยครั้งในหนังสือเรียน อีกทั้งใกล้เคียงกับคำแสดงการรับรู้ในภาษาไทย 4.ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยใช้คำแสดงการรับรู้เพื่อส่งสัญญาณบอกผู้พูดว่ากำลังฟังอยู่มากที่สุดสาเหตุที่ทำให้ผู้เรียนชาวไทยใช้คำแสดงการรับรู้น้อยน่าจะมาจากพื้นฐานด้านวัฒนธรรมไทย ข้อจำกัดทางภาษาญี่ปุ่น ดังนั้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถภาษาญี่ปุ่น และเพิ่มโอกาส ในการใช้ภาษาญี่ปุ่นกับชาวญี่ปุ่นนอกห้องเรียนโดยใช้ช่องทางต่างๆ เช่น โปรแกรมสนทนาออนไลน์ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถใช้คำแสดงการรับรู้ได้ดียิ่งขึ้น