Publication: Migrationand Affective LabourinZadie Smith’s “The Embassy of Cambodia”and Haresh Sharma’s Model Citizens
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2630-0370
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Human Sciences
มนุษยศาสตร์สาร
มนุษยศาสตร์สาร
Volume
21
Issue
3
Edition
Start Page
9
End Page
23
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Migrationand Affective LabourinZadie Smith’s “The Embassy of Cambodia”and Haresh Sharma’s Model Citizens
Alternative Title(s)
การอพยพย้ายถิ่นและแรงงานความรู้สึกในเรื่องสั้น “The Embassy of Cambodia” ของเซดิ สมิธ และ บทละคร Model Citizens ของฮาริช ฌาร์มา
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This research article was a study of the interconnectedness between migration, gender and affective labour against the backdrop of neoliberal and neo-imperialist exploitation and state control in two contemporary literary texts. Originally published in The New Yorker in 2013,Zadie Smith’sshort story,“The Embassy of Cambodia”,depicts the life of Fatou, a migrant domestic servant to the Derawals in their London suburban house. By taking a narrative detour through global and historical issues such as colonialism, genocide, migration, and globalization, Smith wrote about characters who practice various types of affective labour, commonly regarded as ‘women’s work’. The second primary text of the study was Haresh Sharma’s play, Model Citizens, published in 2012, which touched upon the pressing issues of multiculturalism and migrants in contemporary Singapore through a portrayal of three female characters: a minister’s wife, an Indonesia maid and a Paranakan or Strait-born Chinese woman whose son had committed suicide.Sharma’s play is a critique of “Singaporean Dream” by posing an immanent question: Who is/are the model citizen(s) for the Singaporean state? Built upon Marxist and feminist theories of affective and immaterial labour put forth by scholars such as Michael Hardt, Antonio Negri and Silvia Feredici, this articlewas an analysis and a discussion of how affective labour and migrant domestic workers were represented in the two texts. The researcher drew a conclusion onhow Smith’s fiction and Sharma’s play potentially suggesta path tosolidarityand liberationof domestic workersin the current system of globalcapitalism, state control, and patriarchy.
บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการอพยพย้ายถิ่น, เพศสถานะ และแรงงานความรู้สึก ท่ามกลาง การเอารัดเอาเปรียบในโลกเสรีนิยมใหม่และจักรวรรดินิยมใหม่ และการควบคุมของรัฐ ในวรรณกรรมร่วมสมัยสองเรื่อง โดยเรื่องสั้น The Embassy of Cambodia (2013) ของ Zadie Smith ได้นำเสนอเรื่องราวชีวิตของ Fatou สาวรับใช้ต่างด้าวของครอบครัวเดอราวัลในย่านชานกรุงลอนดอน โดยได้สมิธได้เขียนถึง ตัวละครที่ทำงานบริการในลักษณะของแรงงานความรู้สึก ซึ่งมักถูกมองว่าเป็น “งานของผู้หญิง” โดยสมิธได้นำเสนอประเด็นสำคัญของโลกปัจจุบันและในประวัติศาสตร์ อาทิ ลัทธิการล่าอาณานิคม การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การอพยพย้ายถิ่น และภาวะโลกาภิวัฒน์ ในขณะที่บทละคร Model Citizens (2012) ของ Haresh Sharma นำเสนอประเด็นแรงงานอพยพและภาวะพหุวัฒนธรรม ภายใต้การควบคุมของรัฐสิงคโปร์ ผ่านตัวละครหญิงสามคน คือ ภริยารัฐมนตรี, หญิงเชื้อสายเปอนารากัน และสาวใช้ชาวอินโดนีเซีย โดยบทละครของฌาร์มา เป็นการวิพากษ์แนวคิด “ความฝันแบบสิงคโปร์” ด้วยการตั้งคำถามว่า ใครคือพลเมืองตัวอย่างของรัฐสิงคโปร์กันแน่ และนำเสนอภาพแทนของแรงงานความรู้สึก ผ่านตัวละคร Melly สาวใช้ชาวอินโดนีเซีย บทความชิ้นนี้อ้างถึงแนวคิด ว่าด้วยแรงงานความรู้สึก และแรงงานอวัตถุ ของนักคิดสายมาร์กซิสต์และเฟมินิสต์ อาทิ Michael Hardt, Antonio Negri และ Silvia Federici ในการวิเคราะห์และอภิปรายการนำเสนอภาพแทน ของแรงงานความรู้สึกและแรงงานอพยพที่ทำงาน รับใช้ในบ้าน ในงานวรรณกรรมทั้งสองชิ้น และนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่าเรื่องสั้นของสมิธและบทละครของฌาร์มา อาจชี้ให้เห็นหนทางที่จะนำไปสู่ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ความเป็นพวกพ้อง และการปลดปล่อยแรงงานรับใช้ในบ้านเหล่านี้ จากการเอารัดเอาเปรียบในระบบทุนนิยม การควบคุมของรัฐ และแนวคิดชายเป็นใหญ่
บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการอพยพย้ายถิ่น, เพศสถานะ และแรงงานความรู้สึก ท่ามกลาง การเอารัดเอาเปรียบในโลกเสรีนิยมใหม่และจักรวรรดินิยมใหม่ และการควบคุมของรัฐ ในวรรณกรรมร่วมสมัยสองเรื่อง โดยเรื่องสั้น The Embassy of Cambodia (2013) ของ Zadie Smith ได้นำเสนอเรื่องราวชีวิตของ Fatou สาวรับใช้ต่างด้าวของครอบครัวเดอราวัลในย่านชานกรุงลอนดอน โดยได้สมิธได้เขียนถึง ตัวละครที่ทำงานบริการในลักษณะของแรงงานความรู้สึก ซึ่งมักถูกมองว่าเป็น “งานของผู้หญิง” โดยสมิธได้นำเสนอประเด็นสำคัญของโลกปัจจุบันและในประวัติศาสตร์ อาทิ ลัทธิการล่าอาณานิคม การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การอพยพย้ายถิ่น และภาวะโลกาภิวัฒน์ ในขณะที่บทละคร Model Citizens (2012) ของ Haresh Sharma นำเสนอประเด็นแรงงานอพยพและภาวะพหุวัฒนธรรม ภายใต้การควบคุมของรัฐสิงคโปร์ ผ่านตัวละครหญิงสามคน คือ ภริยารัฐมนตรี, หญิงเชื้อสายเปอนารากัน และสาวใช้ชาวอินโดนีเซีย โดยบทละครของฌาร์มา เป็นการวิพากษ์แนวคิด “ความฝันแบบสิงคโปร์” ด้วยการตั้งคำถามว่า ใครคือพลเมืองตัวอย่างของรัฐสิงคโปร์กันแน่ และนำเสนอภาพแทนของแรงงานความรู้สึก ผ่านตัวละคร Melly สาวใช้ชาวอินโดนีเซีย บทความชิ้นนี้อ้างถึงแนวคิด ว่าด้วยแรงงานความรู้สึก และแรงงานอวัตถุ ของนักคิดสายมาร์กซิสต์และเฟมินิสต์ อาทิ Michael Hardt, Antonio Negri และ Silvia Federici ในการวิเคราะห์และอภิปรายการนำเสนอภาพแทน ของแรงงานความรู้สึกและแรงงานอพยพที่ทำงาน รับใช้ในบ้าน ในงานวรรณกรรมทั้งสองชิ้น และนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่าเรื่องสั้นของสมิธและบทละครของฌาร์มา อาจชี้ให้เห็นหนทางที่จะนำไปสู่ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ความเป็นพวกพ้อง และการปลดปล่อยแรงงานรับใช้ในบ้านเหล่านี้ จากการเอารัดเอาเปรียบในระบบทุนนิยม การควบคุมของรัฐ และแนวคิดชายเป็นใหญ่