Publication: กริยา ขึ้น และ ลง ในภาษาไทย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
1994
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
กริยา ขึ้น และ ลง ในภาษาไทย
Alternative Title(s)
Subsidiary verbs khin3 ASCEND and L on 1 DESCEND in Thai
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความหมายที่หลากหลายของกริยารอง ขึ้น และ ลง ในภาษาไทย เพื่อหาความสัมพันธ์ขอความหมายเหล่านั้น นอกจากนี้จะศึกษาประเภทกริยานำ เพื่อพิสูจน์ว่าความหมายของกริยารอง ขึ้นอยู่กับความหมายของกริยานำ ผลการวิจัย พบว่า กริยารอง ขึ้น และ ลง มีความหมาย 3 นัยคือ ความหมายโดยตรง ความหมายอุปมา และความหมายโดยนัย ความหมายโดยตรงมี 3 ประการได้แก่ 1. ความหมายบอกแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้ง 2. ความหมายของการเปลี่ยนแปลงระดับของปราณหรือคุณสมบัติ 3. ความหมายของการปรากฏ หรือการหายไป ความหมายประการแรกเป็นความหมายต้นแบบบอกแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้งของการเคลื่อนที่ ความหมายต้นแบบได้มีการเคลื่อนย้ายไปสู่ความหมายอุปมาในความหมายประการที่สองและที่สาม นอกจากนี้ ความหมายอุปมาของกริยารองยังทำให้เกิดความหมายแฝงที่แสดงทัศนคติของผู้พูดด้วย โดยกริยารอง ขึ้น แสดงทัศนคติที่ดี กริยารอง ลง แสดงทัศนคติที่ไม่ดี นอกจากนี้ ขึ้น และ ลง ยังบอกความหมายโดยนัยด้วยความหมายบอกการณ์ลักษณะซึ่งมี2 อย่างคือ การณ์ลักษณะสมบูรณ์ และการณ์ลักษณะที่ไม่สมบูรณ์ เมื่อศึกษากริยานำ พบว่าความหมายของกริยานำเป็นปัจจัยกำหนดความหมายของกริยารอง ถ้ากริยานำ เป็นกริยาบอกการกระทำ กริยารองจะบอกความหมายทั้งแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้ง ถ้ากริยานำเป็นกริยาบอกสภาพหรือคุณสมบัติ กริยารองจะบอกการเปลี่ยนแปลงระดับของปริมาณหรือคุณสมบัติ ถ้ากริยานำเป็นกริยาบอกกระบวนการ กริยารอง ขึ้น จะบอกความหมายของการปรากฏ และความหมายของการณ์ลักษณะสมบูรณ์ ในขณะที่กริยารอง ลง จะบอกความหมายของการหายไป และการณ์ลักษณะที่สมบูรณ์
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความหมายที่หลากหลายของกริยารอง ขึ้น และ ลง ในภาษาไทย เพื่อหาความสัมพันธ์ขอความหมายเหล่านั้น นอกจากนี้จะศึกษาประเภทกริยานำ เพื่อพิสูจน์ว่าความหมายของกริยารอง ขึ้นอยู่กับความหมายของกริยานำ ผลการวิจัย พบว่า กริยารอง ขึ้น และ ลง มีความหมาย 3 นัยคือ ความหมายโดยตรง ความหมายอุปมา และความหมายโดยนัย ความหมายโดยตรงมี 3 ประการได้แก่ 1. ความหมายบอกแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้ง 2. ความหมายของการเปลี่ยนแปลงระดับของปราณหรือคุณสมบัติ 3. ความหมายของการปรากฏ หรือการหายไป ความหมายประการแรกเป็นความหมายต้นแบบบอกแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้งของการเคลื่อนที่ ความหมายต้นแบบได้มีการเคลื่อนย้ายไปสู่ความหมายอุปมาในความหมายประการที่สองและที่สาม นอกจากนี้ ความหมายอุปมาของกริยารองยังทำให้เกิดความหมายแฝงที่แสดงทัศนคติของผู้พูดด้วย โดยกริยารอง ขึ้น แสดงทัศนคติที่ดี กริยารอง ลง แสดงทัศนคติที่ไม่ดี นอกจากนี้ ขึ้น และ ลง ยังบอกความหมายโดยนัยด้วยความหมายบอกการณ์ลักษณะซึ่งมี2 อย่างคือ การณ์ลักษณะสมบูรณ์ และการณ์ลักษณะที่ไม่สมบูรณ์ เมื่อศึกษากริยานำ พบว่าความหมายของกริยานำเป็นปัจจัยกำหนดความหมายของกริยารอง ถ้ากริยานำ เป็นกริยาบอกการกระทำ กริยารองจะบอกความหมายทั้งแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้ง ถ้ากริยานำเป็นกริยาบอกสภาพหรือคุณสมบัติ กริยารองจะบอกการเปลี่ยนแปลงระดับของปริมาณหรือคุณสมบัติ ถ้ากริยานำเป็นกริยาบอกกระบวนการ กริยารอง ขึ้น จะบอกความหมายของการปรากฏ และความหมายของการณ์ลักษณะสมบูรณ์ ในขณะที่กริยารอง ลง จะบอกความหมายของการหายไป และการณ์ลักษณะที่สมบูรณ์
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความหมายที่หลากหลายของกริยารอง ขึ้น และ ลง ในภาษาไทย เพื่อหาความสัมพันธ์ขอความหมายเหล่านั้น นอกจากนี้จะศึกษาประเภทกริยานำ เพื่อพิสูจน์ว่าความหมายของกริยารอง ขึ้นอยู่กับความหมายของกริยานำ ผลการวิจัย พบว่า กริยารอง ขึ้น และ ลง มีความหมาย 3 นัยคือ ความหมายโดยตรง ความหมายอุปมา และความหมายโดยนัย ความหมายโดยตรงมี 3 ประการได้แก่ 1. ความหมายบอกแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้ง 2. ความหมายของการเปลี่ยนแปลงระดับของปราณหรือคุณสมบัติ 3. ความหมายของการปรากฏ หรือการหายไป ความหมายประการแรกเป็นความหมายต้นแบบบอกแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้งของการเคลื่อนที่ ความหมายต้นแบบได้มีการเคลื่อนย้ายไปสู่ความหมายอุปมาในความหมายประการที่สองและที่สาม นอกจากนี้ ความหมายอุปมาของกริยารองยังทำให้เกิดความหมายแฝงที่แสดงทัศนคติของผู้พูดด้วย โดยกริยารอง ขึ้น แสดงทัศนคติที่ดี กริยารอง ลง แสดงทัศนคติที่ไม่ดี นอกจากนี้ ขึ้น และ ลง ยังบอกความหมายโดยนัยด้วยความหมายบอกการณ์ลักษณะซึ่งมี2 อย่างคือ การณ์ลักษณะสมบูรณ์ และการณ์ลักษณะที่ไม่สมบูรณ์ เมื่อศึกษากริยานำ พบว่าความหมายของกริยานำเป็นปัจจัยกำหนดความหมายของกริยารอง ถ้ากริยานำ เป็นกริยาบอกการกระทำ กริยารองจะบอกความหมายทั้งแนวผ่านและทิศทางในแนวตั้ง ถ้ากริยานำเป็นกริยาบอกสภาพหรือคุณสมบัติ กริยารองจะบอกการเปลี่ยนแปลงระดับของปริมาณหรือคุณสมบัติ ถ้ากริยานำเป็นกริยาบอกกระบวนการ กริยารอง ขึ้น จะบอกความหมายของการปรากฏ และความหมายของการณ์ลักษณะสมบูรณ์ ในขณะที่กริยารอง ลง จะบอกความหมายของการหายไป และการณ์ลักษณะที่สมบูรณ์
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะอักษรศาสตร์
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย