Publication: Developing of a High Frequency Word List in Social Sciences
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2016
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2651-1347 (Print), 2672-989X (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Studies in the English Language
Volume
11
Issue
Edition
Start Page
41
End Page
87
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Developing of a High Frequency Word List in Social Sciences
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This study aimed to develop a high frequency content word list discovered in social science research articles, henceforth referred to as the Social Science Word List (SSWL) from the Social Science Corpus (SSC). The SSC was compiled from 64 open-access English social science research papers from 11 journals in the General Category, published during 2013 2015 on the ScienceDirect website. AntWordProfiler 1.4.0 and AntConc 3.4.3 were employed to calculate the ranges and frequencies of words occurring in the social science corpus, in comparison with the New General Service List (NGSL) and the Academic Word List (AWL). By using Coxhead’s range and word frequency criteria, the results revealed that 394 high frequency content headwords and 1,120 word members were obtained. The validation results corroborated that the SSWL can assist teachers in selecting appropriate words. Also, the SSWL is worth introducing to students to familiarize them with essential words for the reading and writing of social science research papers in vocabulary pedagogy, as it exhibits twice the coverage of the AWL in the validating corpora.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารายการคำแสดงเนื้อหาที่พบบ่อยในบทความวิจัยด้านสังคมศาสตร์จากคลังข้อมูลบทความวิจัยด้านสังคมศาสตร์ที่สร้างจากบทความจำนวน 64 บทความ จากวารสารทางวิชาการแบบเสรี 11 ฉบับ ที่ตีพิมพ์ระหว่างปี 2556-2558 และถูกจัดอยู่ในประเภททั่วไปในฐาน ScienceDirect โปรแกรม AntWordProfiler 1.4.0 และ AntConc 3.4.3 ใช้คำนวณหาค่าความถี่และพิสัยของคำที่ปรากฏในคลังข้อมูลบทความวิจัย โดยเปรียบเทียบกับรายการคำที่พบบ่อยในภาษาอังกฤษ (New General Service List) และรายการคำที่พบบ่อยในงานทางวิชาการ (Academic Word List) โดยใช้เกณฑ์พิสัยของ Coxhead และความถี่การปรากฏของคำ ผลการวิจัยพบ คำแสดงเนื้อหาที่พบบ่อยในงานวิจัยด้านสังคมศาสตร์ จำนวน 394 คำหลัก และสมาชิกของคำหลัก 1,120 คำ นอกจากนี้ ผลการตรวจสอบพบว่าคำแสดงเนื้อหาที่พบส่วนใหญ่นั้นเป็นคำที่ปรากฏในเอกสารทางวิชาการ และรายการคำที่ได้นี้ครอบคลุมคำในคลังข้อมูลทดสอบบทความวิจัยด้านสังคมศาสตร์โดยมากกว่ารายการคำที่พบบ่อยในงานทางวิชาการประมาณสองเท่า จึงเห็นได้ว่ารายการคำแสดงเนื้อหาที่พบบ่อยในบทความวิจัยด้านสังคมศาสตร์นี้ เหมาะสมที่จะแนะนำให้นักเรียนได้คุ้นเคยกับคำศัพท์ที่จำเป็นในการอ่านและเขียนงานวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารายการคำแสดงเนื้อหาที่พบบ่อยในบทความวิจัยด้านสังคมศาสตร์จากคลังข้อมูลบทความวิจัยด้านสังคมศาสตร์ที่สร้างจากบทความจำนวน 64 บทความ จากวารสารทางวิชาการแบบเสรี 11 ฉบับ ที่ตีพิมพ์ระหว่างปี 2556-2558 และถูกจัดอยู่ในประเภททั่วไปในฐาน ScienceDirect โปรแกรม AntWordProfiler 1.4.0 และ AntConc 3.4.3 ใช้คำนวณหาค่าความถี่และพิสัยของคำที่ปรากฏในคลังข้อมูลบทความวิจัย โดยเปรียบเทียบกับรายการคำที่พบบ่อยในภาษาอังกฤษ (New General Service List) และรายการคำที่พบบ่อยในงานทางวิชาการ (Academic Word List) โดยใช้เกณฑ์พิสัยของ Coxhead และความถี่การปรากฏของคำ ผลการวิจัยพบ คำแสดงเนื้อหาที่พบบ่อยในงานวิจัยด้านสังคมศาสตร์ จำนวน 394 คำหลัก และสมาชิกของคำหลัก 1,120 คำ นอกจากนี้ ผลการตรวจสอบพบว่าคำแสดงเนื้อหาที่พบส่วนใหญ่นั้นเป็นคำที่ปรากฏในเอกสารทางวิชาการ และรายการคำที่ได้นี้ครอบคลุมคำในคลังข้อมูลทดสอบบทความวิจัยด้านสังคมศาสตร์โดยมากกว่ารายการคำที่พบบ่อยในงานทางวิชาการประมาณสองเท่า จึงเห็นได้ว่ารายการคำแสดงเนื้อหาที่พบบ่อยในบทความวิจัยด้านสังคมศาสตร์นี้ เหมาะสมที่จะแนะนำให้นักเรียนได้คุ้นเคยกับคำศัพท์ที่จำเป็นในการอ่านและเขียนงานวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์