Publication: การวิเคราะห์โครงสร้างบทสนทนาระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับชนกลุ่มชาติพันธุ์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2012
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การวิเคราะห์โครงสร้างบทสนทนาระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับชนกลุ่มชาติพันธุ์
Alternative Title(s)
An analysis of conversational structures between local government officials and ethnic people.
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาโครงสร้างบทสนทนาระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับชนกลุ่มชาติพันธุ์และศึกษากลวิธีที่เจ้าหน้าที่ใช้ในการถามและการตอบคำถามของชนกลุ่มชาติพันธุ์ โดยใช้แนวคิด การวิเคราะห์บทสนทนา (Conversation Analysis) ที่ศึกษาจากงานของ Sacks et al., (1974) โดยเก็บข้อมูลจากการบันทึกเสียงบทสนทนาที่เกิดขึ้นจริงในฝ่ายงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา จำนวน 50 บทสนทนา จากการศึกษา พบว่า โครงสร้างบทสนทนามีอยู่ 3 ส่วน คือ การเปิดการสนทนา การดำเนินการสนทนา และการปิดการสนทนา บทสนทนาที่พบจากการศึกษาเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ สถานะและสิทธิของชนกลุ่มชาติพันธุ์ การเริ่มต้นสนทนาส่วนใหญ่เริ่มโดยฝ่ายเจ้าหน้าที่ พบว่า มีการเปิดการสนทนาด้วยการเรียกให้ชื่อ หรือเรียกให้มาพบ การถามคำถาม การกล่าวเข้าเรื่องทันที และการอธิบาย ขั้นตอนการทำงาน ในส่วนผู้มาติดต่อที่เป็นชนกลุ่มชาติพันธุ์เปิดการสนทนาด้วยการเรียก การกล่าวคำทักทาย และการกล่าววัตถุประสงค์ทันที บทสนทนามีดำเนินการสนทนาด้วยการผลัดกันพูดโดยการถาม-การตอบระหว่างเจ้าหน้าที่กับผู้มาติดต่อที่เป็นชนกลุ่มชาติพันธุ์จนกระทั่ง สิ้นสุดการสนทนา ในการถามคำถามผู้มาติดต่อ พบว่า เจ้าหน้าที่ใช้กลวิธีในการถามอยู่ 6 กลวิธี คือ1) การถามคำถามปลายปิด 2) การถามคำถามปลายเปิด 3) การถามคำถามชี้นำ 4) การถามในรูปแบบถ้อยคำบอกเล่า 5) การถามหลายคำถามต่อเนื่องกัน และ 6) การถามซ้ำ ซึ่งกลวิธีที่ไม่เหมาะสำหรับการถามผู้มาติดต่อที่เป็นชนกลุ่มชาติพันธุ์ คือ การถามหลายคำถามต่อเนื่องกัน เนื่องจากผู้มาติดต่อจะเลือกตอบเฉพาะคำถามใดคำถามหนึ่งเท่านั้น ส่วนการตอบคำถามของผู้มาติดต่อที่เป็นชนกลุ่มชาติพันธุ์พบ 2 แบบ คือ การตอบคำตอบที่คาด และการตอบ คำตอบที่ไม่คาด การตอบคำตอบที่ไม่คาดของชนกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ ทำให้เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณา คำตอบกับข้อมูลที่มีอยู่อย่างละเอียดอีกครั้ง
-
-
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาเเละวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล