Publication: บทแปลเรื่อง “ความลับของเพื่อนร่วมทาง” ของฟรองซิส ริก พร้อมบทวิเคราะห์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
1
End Page
383
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
บทแปลเรื่อง “ความลับของเพื่อนร่วมทาง” ของฟรองซิส ริก พร้อมบทวิเคราะห์
Alternative Title(s)
Translation and analysis of “Le Compagnon indésirable” by Francis Ryck
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอบทแปลและบทวิเคราะห์การแปลของนวนิยายภาษาฝรั่งเศสเรื่อง ความลับของเพื่อนร่วมทาง (Le compagnon indésirable) ผลงานการประพันธ์ของฟรองซิส ริก (Francis Ryck) นักเขียนชาวฝรั่งเศสในช่วงศตวรรษที่ 20 (1920-2007) นวนิยายเรื่องนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1972 ลักษณะเด่นของนิยายเรื่องนี้คือการเขียนสร้างบรรยากาศลึกลับ คลุมเครือ โดยใช้มุมมองที่พรรณนาแต่เพียงพฤติกรรมของตัวละคร ทำให้ผู้อ่านไม่สามารถเข้าถึงจิตใจของตัวละครได้ กลวิธีดังกล่าวจึงเหมาะอย่างยิ่งกับนวนิยายที่มีเนื้อหาว่าด้วยความลับอย่างผลงานของฟรองซิส ริกเรื่องนี้
ผู้แปลใช้ทฤษฎีการแปลแบบยึดความหมาย (Théorie interprétative de la traduction) ของสถาบันชั้นสูงด้านการล่ามและการแปล (École Supérieure d’Interprètes et de Traducteurs - E.S.I.T.) แห่งมหาวิทยาลัย Paris III - La Sorbonne Nouvelle เป็นแนวทางการแปลเพื่อให้ถ่ายทอดเนื้อหาและอรรถรสของนวนิยายได้ครบถ้วนตรงตามต้นฉบับ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้แบ่งเนื้อหาเป็น 2 ภาคคือ
ภาคที่ 1 ต้นฉบับและบทแปล ประกอบด้วยต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสและบทแปลภาษาไทยของนวนิยายเรื่อง ความลับของเพื่อนร่วมทาง (Le compagnon indésirable) จากกระบวนการสำคัญสามขั้นตอนของทฤษฎีการแปลแบบยึดความหมายได้แก่ การทำความเข้าใจต้นฉบับ (compréhension) การผละออกจากภาษาต้นฉบับ (déverbalisation) และการถ่ายทอดความหมายสู่ภาษาใหม่ (reexpression)
ภาคที่ 2 บทวิเคราะห์การแปล ประกอบด้วยบทวิเคราะห์ในขั้นตอนการทำความเข้าใจต้นฉบับและการถ่ายทอดความหมาย ในขั้นการทำความเข้าใจต้นฉบับ ผู้แปลได้เน้นการทำความเข้าใจแก่นเรื่อง พื้นที่และเวลาในเนื้อเรื่อง ตัวละคร มุมมองและเทคนิคในการเล่าเรื่อง และขั้นตอนต่อมาการถ่ายทอดความหมาย ผู้แปลได้เสนอการถ่ายทอดชื่อเรื่อง การถ่ายทอดชื่อตัวละครและสถานที่ การถ่ายทอดคำศัพท์บางคำ และการถ่ายทอดคำสรรพนาม ในท้ายของบทวิเคราะห์การแปลเป็นบทสรุปจากการแปลนวนิยายเรื่อง ความลับของเพื่อนร่วมทาง (Le compagnon indésirable)
This dissertation aims to present the translation of Francis Ryck’s Le compagnon indésirable from French into Thai. Francis Ryck is a notable writer of French criminel fiction whose work is very popular during the 1960s and 1970s. Le compagnon indésirable was published in 1972 and was adapted into a film a few years later. The novel is distinguished in its use of external focalization to create the atmosphere of ambiguity and secret which is the theme of the novel. During the process of translation, the translator follows the interpretative theory established by ESIT according to which there are three steps to obtain the satisfactory translation : comprehension, deverbalisation and reexpression. The second part of the dissertation contains the analyses of the translation in which various problems in the translation will be discussed.
This dissertation aims to present the translation of Francis Ryck’s Le compagnon indésirable from French into Thai. Francis Ryck is a notable writer of French criminel fiction whose work is very popular during the 1960s and 1970s. Le compagnon indésirable was published in 1972 and was adapted into a film a few years later. The novel is distinguished in its use of external focalization to create the atmosphere of ambiguity and secret which is the theme of the novel. During the process of translation, the translator follows the interpretative theory established by ESIT according to which there are three steps to obtain the satisfactory translation : comprehension, deverbalisation and reexpression. The second part of the dissertation contains the analyses of the translation in which various problems in the translation will be discussed.
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะศิลปศาสตร์
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
ธรรมศาสตร์