Publication: แนวคิดพุทธปรัชญามหายานที่ปรากฏในคติความเชื่อและรูปเคารพในท้องถิ่นภาคใต้
dc.contributor.author | วรารัตน์ คำมณี | |
dc.contributor.author | Wararat Khammanee | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T06:36:23Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T06:36:23Z | |
dc.date.issued | 2020 | |
dc.date.issuedBE | 2563 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์แนวคิดทางพุทธปรัชญามหายานที่ปรากฏในคติความเชื่อและรูปเคารพในท้องถิ่นภาคใต้ โดยศึกษาแนวคิดสำคัญทางพุทธปรัชญามหายานแล้วนำมาศึกษาวิเคราะห์คติความเชื่อและรูปเคารพในท้องถิ่นภาคใต้ ผลการศึกษาพบแนวคิดสำคัญทางพุทธปรัชญามหายาน 2 ประเด็น คือ ประเด็นแรกแนวคิดเรื่องพระพุทธเจ้า พบในคติการถวายข้าวพระพุทธ ประเด็นที่สองการสร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัย 3 องค์ที่ตั้งประดิษฐานในพระอุโบสถ วิหาร หรือศาลาการเปรียญ พบคติการสร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัยหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก ประเด็นเหล่านี้สอดคล้องกับหลักสำคัญทางพุทธศาสนามหายานที่เชื่อว่า พระพุทธเจ้ามีพระกาย 3 ภาค คือ ภาคธรรมกาย ภาคสัมโภคกาย แลภาคะนิรมานกาย ซึ่งพุทธปรัชญามหายานให้ความสำคัญต่อพระพุทธเจ้าภาคธรรมกายสูงสุด จึงสร้างให้มีขนาดใหญ่หรือประดิษฐานบนฐานบัวโดยสูงกว่าทั้งสององค์ เพราะเชื่อว่าพระพุทธเจ้าภาคธรรมกายนั้นเป็นที่มาของพระพุทธเจ้าภาคสัมโภคกายและภาคนิรมานกาย ส่วนคติการถวายข้าวพระพุทธเป็นการปฏิบัติบูชาต่อพระพุทธเจ้าภาคธรรมกายและสัมโภคกายอันคงอยู่ชั่วนิรันดร์ ไม่ดับสูญไปพร้อมกับการปรินิพพานเหมือนเช่นพระพุทธเจ้าภาคนิรมานกาย และคติการตั้งพระพุทธรูปปางมารวิชัยหันพระพักตร์ทางทิศตะวันออก ก็เพื่อให้พุทธศาสนิกชนแสดงสักการะสู่ทิศตะวันตก อันเป็นที่ตั้งของสุขาวดีพุทธเกษตรของพระอมิตาภพุทธเจ้า และยังมีแนวคิดเรื่องพระโพธิสัตว์ที่พบในคติความเชื่อเรื่องสมเด็จหลวงพ่อทวด ซึ่งสะท้อนจากคำอารธนาบูชาและการสร้างพระเครื่องพระบูชาที่ประดิษฐานบนฐานบัว ที่มีความสอดคล้องกับคติความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ตามแนวคิดพุทธปรัชญามหายาน คติดังกล่าวได้รับอิทธิพลจากการนับถือพุทธศาสนามหายานที่เคยเจริญรุ่งเรืองในยุคอาณาจักรศรีวิชัยที่ผ่านมา | |
dc.description.abstract | This study aims to analyze the concepts of Mahayana philosophy appearing in beliefs and religious objects of worship in Southern Thailand. The investigation began with studying the core concepts of Mahayana philosophy. Afterwards, the beliefs and religious objects of worship in Southern Thailand were analyzed. The results revealed that 2 concepts of Mahayana philosophy were found. Firstly, the concept regarding the Buddha appeared in the method of offering food to the Buddha. Secondly, in terms of creating 3 Buddha images with the gesture of subduing Mara for an ordination hall, a Buddha image hall,or a sermon hall, it was suggested that the Buddha images should face east. These concepts conform with the concept of the three bodies of the Buddha: dharmakaya (body of essence), sambhogakaya (body of enjoyment), and nirmanakaya (body of transformation), in Mahayana. Mahayana philosophy considers dharmakaya of the Buddha the absolute and the source of sambhogakaya and nirmanakaya | en |
dc.description.abstract | therefore the Buddha image of dharmakaya is bigger or placed on a lotus base in the highest position. As for offering food to the Buddha, the food is determined to be offered to dharmakaya and sambhogakaya of the Buddha which last indefinitely, unlike nirmanakaya which decomposed along with attaining Nirvana. Concerning the direction to place a Buddha image, the reason why a Buddha image should face east is to let Buddhists pay respect to the west where SukhavatIof Amitabha Buddha is located. In addition, the concept of a bodhisattva was also found in the belief regarding Somdej Luang Phor Thuat through chanting and creating a Buddha image sitting on a lotus base. These methods were influenced by Mahayana philosophy which once prospered in Srivijayan Period. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4674 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | พุทธปรัชญามหายาน | |
dc.subject | คติความเชื่อและรูปเคารพ | |
dc.subject | ท้องถิ่นภาคใต้ | |
dc.subject | รูปเคารพ | |
dc.subject | Belief | |
dc.subject | Idol | |
dc.subject | Local South | |
dc.subject | Mahayana Buddhist Philosophy | |
dc.subject.isced | 0223 ปรัชญาและจริยธรรม | |
dc.subject.oecd | 6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา | |
dc.title | แนวคิดพุทธปรัชญามหายานที่ปรากฏในคติความเชื่อและรูปเคารพในท้องถิ่นภาคใต้ | |
dc.title.alternative | The Concepts of Mahayana Philosophy through Beliefs and Religious Objects of Worship in Southern Thailand | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 681 | |
harrt.researchArea | ปรัชญาตะวันออก | |
harrt.researchGroup | ปรัชญา | |
harrt.researchTheme.1 | อื่นๆ | |
harrt.researchTheme.2 | ปรัชญาท้องถิ่น | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/psujssh/article/view/251934 | |
oaire.citation.endPage | 30 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 3 | |
oaire.citation.title | วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ | |
oaire.citation.title | Songklanakarin Journal of Social Sciences and Humanities | en |
oaire.citation.volume | 26 |