Publication: 古龙《大人物》两种泰译本的比较
View online Resources
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2009
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
文學院學報
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Volume
4
Issue
7
Edition
Start Page
54
End Page
64
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
古龙《大人物》两种泰译本的比较
Alternative Title(s)
เปรียบเทียบงานแปลนิยายจีนกำลังภายในเรื่อง "ต้า เหยิน อู้" ของโกวเล้ง ฉบับภาษาไทย
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
随着中泰文化交流的不断加强,中国武侠小说作为文化传播的一种方式,被大量地引进到泰国。武侠小说的翻译也成为“翻译园地中愈来愈重要的领域”。作为原语言和译语言的媒介,译者在翻译中的作用至关重要:不同的译者会有不同的译作,文学作品的翻译也不例外。 本文就古龙所著武侠小说《大人物》的两种泰译本《ผู้ยิ่งใหญ่》和《เทพบุตรยุทธจักร》的翻译手法进行比较,分析二者的异同得失,指出极端的直译和意译均不可取,二者应相辅相成,互相补充。
ตามที่ประเทศไทยและประเทศจีนมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันอย่างต่อเนื่อง นิยายจีนกำลังภายใน จัดเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมชนิดหนึ่ง จึงถูกนำเข้าประเทศไทยอย่างมากมาย ดังนั้น การแปลนิยายจีนกำลังภายในจึงกลายเป็น “อาณาจักรที่นับวันยิ่งมีความสำคัญของ column” การเป็นสื่อระหว่างภาษาเดิมกับภาษาแปล ผู้แปลนั้นมีส่วนสำคัญต่อการแปลเป็นอย่างยิ่ง ผู้แปลที่ต่างกันย่อมมีผลงานแปลที่ต่างกัน ผลงานแปลทางวรรณกรรมของผู้แปลที่แตกต่างกันก็จะมีผลงานแปลที่แตกต่างกันไปด้วย ซึ่งเป็นกฎของธรรมชาติ บทความนี้ เป็นการเปรียบเทียบวิธีการแปลนิยายจีนกำลังภายในของโกวเล้ง เรื่อง “ต้า เหยิน อู้” ฉบับภาษาไทยทั้ง 2 เล่มคือ “ผู้ยิ่งใหญ่” ของ ว. ณ เมืองลุง และ “เทพบุตรยุทธจักร” ของ กิตติ พิรุณ และวิเคราะห์การแปลข้อเหมือนและแตกต่างรวมทั้งข้อดีและข้อด้อยของนิยายผลงานแปลทั้งสองฉบับชี้ให้เห็นถึง “การแปลแบบตรง” และ “การแปลแบบถ่ายทอดความหมาย” อย่างสุดโต่งนั้นล้วนไม่ควรปฏิบัติ ควรนำหลักวิธีการแปลทั้ง 2 แบบมาใช้ ประกอบซึ่งกันและกันเพื่อให้การถอดความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ตามที่ประเทศไทยและประเทศจีนมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันอย่างต่อเนื่อง นิยายจีนกำลังภายใน จัดเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมชนิดหนึ่ง จึงถูกนำเข้าประเทศไทยอย่างมากมาย ดังนั้น การแปลนิยายจีนกำลังภายในจึงกลายเป็น “อาณาจักรที่นับวันยิ่งมีความสำคัญของ column” การเป็นสื่อระหว่างภาษาเดิมกับภาษาแปล ผู้แปลนั้นมีส่วนสำคัญต่อการแปลเป็นอย่างยิ่ง ผู้แปลที่ต่างกันย่อมมีผลงานแปลที่ต่างกัน ผลงานแปลทางวรรณกรรมของผู้แปลที่แตกต่างกันก็จะมีผลงานแปลที่แตกต่างกันไปด้วย ซึ่งเป็นกฎของธรรมชาติ บทความนี้ เป็นการเปรียบเทียบวิธีการแปลนิยายจีนกำลังภายในของโกวเล้ง เรื่อง “ต้า เหยิน อู้” ฉบับภาษาไทยทั้ง 2 เล่มคือ “ผู้ยิ่งใหญ่” ของ ว. ณ เมืองลุง และ “เทพบุตรยุทธจักร” ของ กิตติ พิรุณ และวิเคราะห์การแปลข้อเหมือนและแตกต่างรวมทั้งข้อดีและข้อด้อยของนิยายผลงานแปลทั้งสองฉบับชี้ให้เห็นถึง “การแปลแบบตรง” และ “การแปลแบบถ่ายทอดความหมาย” อย่างสุดโต่งนั้นล้วนไม่ควรปฏิบัติ ควรนำหลักวิธีการแปลทั้ง 2 แบบมาใช้ ประกอบซึ่งกันและกันเพื่อให้การถอดความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น