Publication: Redesigning the Linguistic Ecology of East and Southeast Asia: English and/ or Local Languages?
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2651-1347 (Print), 2672-989X (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Studies in the English Language
Volume
9
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Redesigning the Linguistic Ecology of East and Southeast Asia: English and/ or Local Languages?
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
It is now well-attested and understood that the use of English as a lingua franca is a major, if not the major, role of English in today’s world. In Asia alone, it has been estimated that there are nearly one billion users of English. All ten countries comprising the Association of South East Asian Nations (ASEAN) ratified the ASEAN Charter in February 2009. The Charter officially identifies English as the sole working language of the organization. In this article I shall consider the implications of the development of English as a lingua franca in East and Southeast Asia with a focus on two specific issues: first, what are the implications of English as an Asian lingua franca for the teaching of English, especially given that English now operates in many non ‘Anglo-cultural’ contexts in settings in which so-called native speaker are absent; and second, what are the implications for the linguistic ecology of the region with the continuing use of English as a lingua franca? Will we see the maintenance or demise of local languages?
เป็นที่ทราบกันดีว่าการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสารมีบทบาทสำคัญยิ่งในโลกยุคปัจจุบันเพียงเฉพาะในทวีปเอเชียมีการประมาณการว่ามีผู้ใช้ภาษาอังกฤษถึงเกือบราวหนึ่งพันล้านคนประเทศผู้เป็นสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ASEAN) ทั้งสิบประเทศได้ร่วมลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียนในเดือนกุมภาพันธ์ปีค.ศ. 2009กฎบัตรอาเซียนดังกล่าวได้ระบุให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางหรือภาษาราชการเพียงภาษาเดียวที่ใช้ในการประสานงานกันในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ในบทความฉบับนี้ผู้เขียนจะพิจารณาผลสืบเนื่องของพัฒนาการของภาษาอังกฤษในฐานะที่เป็นภาษากลางที่ใช้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยมุ่งเน้นไปที่ประเด็นปัญหาสองประเด็นประเด็นที่หนึ่งได้แก่การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางเพื่อการสอนภาษาอังกฤษในกลุ่มชาวเอเชียส่งผลสืบเนื่องอย่างไรบ้างโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการนำภาษาอังกฤษไปใช้ในบริบทของสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมในภูมิภาคที่ไม่ได้มีการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่และเป็นภูมิภาคที่ไม่มีประชากรซึ่งเป็นผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ประเด็นที่สอง ได้แก่ในเชิงนิเวศวิทยาทางภาษาศาสตร์การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางอย่างต่อเนื่องในภูมิภาคดังกล่าวส่งผลสืบเนื่องอย่างไรบ้างและค้นหาคำตอบว่าภาษาถิ่นที่ใช้ในภูมิภาคเหล่านั้นจะยังคงได้รับการเก็บรักษาไว้หรือสูญสลายไปในที่สุด
เป็นที่ทราบกันดีว่าการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสารมีบทบาทสำคัญยิ่งในโลกยุคปัจจุบันเพียงเฉพาะในทวีปเอเชียมีการประมาณการว่ามีผู้ใช้ภาษาอังกฤษถึงเกือบราวหนึ่งพันล้านคนประเทศผู้เป็นสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ASEAN) ทั้งสิบประเทศได้ร่วมลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียนในเดือนกุมภาพันธ์ปีค.ศ. 2009กฎบัตรอาเซียนดังกล่าวได้ระบุให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางหรือภาษาราชการเพียงภาษาเดียวที่ใช้ในการประสานงานกันในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ในบทความฉบับนี้ผู้เขียนจะพิจารณาผลสืบเนื่องของพัฒนาการของภาษาอังกฤษในฐานะที่เป็นภาษากลางที่ใช้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยมุ่งเน้นไปที่ประเด็นปัญหาสองประเด็นประเด็นที่หนึ่งได้แก่การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางเพื่อการสอนภาษาอังกฤษในกลุ่มชาวเอเชียส่งผลสืบเนื่องอย่างไรบ้างโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการนำภาษาอังกฤษไปใช้ในบริบทของสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมในภูมิภาคที่ไม่ได้มีการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่และเป็นภูมิภาคที่ไม่มีประชากรซึ่งเป็นผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ประเด็นที่สอง ได้แก่ในเชิงนิเวศวิทยาทางภาษาศาสตร์การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางอย่างต่อเนื่องในภูมิภาคดังกล่าวส่งผลสืบเนื่องอย่างไรบ้างและค้นหาคำตอบว่าภาษาถิ่นที่ใช้ในภูมิภาคเหล่านั้นจะยังคงได้รับการเก็บรักษาไว้หรือสูญสลายไปในที่สุด