Publication: คัมภีร์ลฆุเกามุที : ปริวรรต แปลความและการศึกษาวิเคราะห์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2017
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
คัมภีร์ลฆุเกามุที : ปริวรรต แปลความและการศึกษาวิเคราะห์
Alternative Title(s)
Laghu Kaumudī: Transliteration Translation and Analytical Study
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ (๑) เพื่อปริวรรตคัมภีร์ลฆุเกามุทีฉบับภาษาสันสกฤต อักษรเทวนาครีเป็นสันสกฤตอักษรไทย (๒) เพื่อแปลความคัมภีร์ลฆุเกามุทีฉบับภาษาสันสกฤต อักษรไทยเป็นภาษาไทย (๓) เพื่อวิเคราะห์คัมภีร์ลฆุเกามุทีในด้านประวัติผู้เรียบเรียง โครงสร้าง เนื้อหา คุณค่าความสอดคล้องสัมพันธ์กันทางกฎเกณฑ์ไวยากรณ์กับไวยากรณ์ภาษาบาลี ผลการวิจัยพบว่า คัมภีร์ลฆุเกามุทีเป็นหลักสูตรแบบย่อความของหลักไวยากรณ์สันสกฤต เพื่อให้ผู้ศึกษาภาษาสันสกฤตเบื้องต้นมีความเข้าใจง่ายขึ้น โดยได้น าศูตรของปาณินิคือ อัษฎธยายี มา เป็นหลักประกอบกับคัมภีร์ด้านไวยากรณ์อื่น ๆ มาช่วยในการอธิบายกฏเกณฑ์ทางภาษาสันสกฤต เพื่อให้ผู้เริ่มเรียนเข้าใจง่ายขึ้น คัมภีร์นี้แต่งโดย วรทราชะ ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อท าให้เข้าใจหลักไวยากรณ์สันสกฤตได้ง่ายขึ้น เนื้อหาหลัก ๑๑ ส่วนคือ ๑) ส ชฺญา ๒) ส ธิ ๓) สุพนฺต ๔) อวฺยย ๕) ติงนฺต ๖) ปฺรกฺริยา ๗)กฤทนฺต ๘) สมาส ๙) ตทฺธิต ๑๐) สฺตฺรีปฺรตฺตย ๑๑) การก ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับโครงสร้างของหลักไวยากรณ์ภาษาบาลีแต่มีการท าค าซับซ้อนการท าสนธิ มากกว่า โดยรูปสูตรเป็นหลักประกอบด้วย ๑) ศูตร แสดงชื่อ หลักการ วิธีการเป็นบทตั้ง ๒) วฤตติ เป็นค าอธิบายของสูตร ๓) อุทาหรณ์การยกตัวอย่างน ามาอ้างอิง การวิเคราะห์ด้านนามศัพท์ มีการกล่าวบทน าเป็นข้อ มีการจัดเรียงล าดับสูตรใหม่จากเดิม ส่วนประกอบของนามศัพท์มี ลิงค์ พจน์ วิภักติ การันต์ ปรัตยยะ ในการประกอบค าแบ่งเป็นศูตรคือ สัญชญาศูตร ปริภาษาศูตร วิธิศูตร นิยมศูตร อติเทศศูตร และอธิการศูตร โดยมีการสร้างค านาม ประกอบกิริยาและรูปศัพท์ต่าง ๆ ซึ่งใช้เป็นแบบแผนเดียวกันกับคัมภีร์ไวยากรณ์ภาษาบาลีซึ่งใช้มา ตั้งแต่สมัยโบราณ ส่วนที่ต่างกันคือภาษาบาลีได้มีการพัฒนาไปสู่ภาษาที่เข้าใจง่าย ศัพท์แต่ละค ามีการ เปิดโอกาสให้ตีความหมายได้มากกว่าภาษาสันสกฤต และความหมายหนึ่งสามารถใช้ค าเรียกได้หลาย ค า และที่ส าคัญที่สุดคือรากฐานของการประกอบศัพท์นั้นภาษาบาลีเชื่อมโยงกับการที่ความหมายค า หรือรากค าต้องสอดคล้องกับค าสอนของพระพุทธเจ้าโดยมุ่งที่สภาวปรมัตถ์ ส่วนรากศัพท์ของ สันสกฤตน ามาจากอรรถและธาตุและเชื่อมโยงกับความเชื่อแบบเทวนิยม ไวยากรณ์สันสกฤตที่ต่างจากภาษาบาลีที่ชัดเจนคือ สันสกฤตมีสระ ๑๔ ตัว แบ่งเป็น ๓ ขั้นคือ ปกติ คุณะ วฤทธิ พยัญชนะ ๓๕ ตัวแบ่งเป็น ๒ กลุ่มคือวรรคและอวรรค ส่วนค านามมีลิงค์ ๓ เหมือนกันกับบาลี วจนะมี ๓ คือ เอกพจน์ ทวิพจน์ และพหุพจน์ ในขณะที่บาลีไม่มีทวิพจน์ วิภักติมี เช่นเดียวกันทั้งวิภักตินามและวิภักติอาขยาต ในวิภักตินามสันสกฤตมี ๓ กลุ่มย่อยคือ ๑)ปัญจสถาน ๒) ภสถาน ๓) กลุ่ม ปทสถาน แต่ในภาษาบาลีไม่มีการแบ่งกลุ่ม มีวิภักติ ๑๔ ตัว การันต์มี ๒ ลักษณะคือ สระการันต์และพยัญชนะการันต์ส่วนในภาษาบาลีมีเพียงสระการันต์เท่านั้น ส าหรับกริยา(ธาตุ) จ าแนกกริยาไว้ถึง ๑๐ คณะ แต่ละคณะมีการเปลี่ยนรูป แตกต่างกันไป กริยาเหล่านี้จะแจกรูป ตามประธาน ๓ ตามกาล ๖ ชนิด และตามมาลา ๔ ชนิด แสดงให้เห็นความสัมพันธ์กันของภาษา สันสกฤตและบาลีแม้คัมภีร์ลฆุเกามุทีเป็นเพียงคัมภีร์ประเภทไวยากรณ์แต่มีคุณค่า ๑) ด้าน วรรณกรรมมีโครงสร้างซึ่งเชื่อมโยงกับหลักปรัชญาของศาสนาพราหมณ์ ๒) ด้านการเป็นต้นแบบของ คัมภีร์ส าเร็จรูปไวยากรณ์รุ่นหลัง ๓) คุณค่าต่อการศึกษาไวยากรณ์ภาษาบาล
This thesis aims at 3 purposes; 1) to transliterate manuscript of Laghukaumudi of Varadarāja with Sanskrit language into Thai latter, 2) to translate into Thai version, 3) to analyze its author, structure, main contents comparing to Pali and valuate it. The research was documentary by investigating on scripture then analyzed, complied in descriptive style. The findings were that Laghukaumudi is the abridgement of Siddhantakaumudi done by Varadaraja to be basic manual text for Sanskrit grammar. He compiled by taking Sūtra of Pāṇini or Așṭādhayayāni as main references to explain the formula of grammartic system. His aims were to make difficult and complicated Sanskrit to be easier for readers. The contents contain 11 parts; 1) Sajña 2) Sandhi 3) Subanta 4) Avyaya 5) Tinanta 6) Prakriyā 7) Kridanta 8) Samasa 9) Tadthita 10) Strīprattaya 11) Kāraka which are quite similar to Pali grammar but Pali has less repletion of words and combinations. It was done by Sūtra forms consisting of 1) Sūtra as its main task, 2) Vritti or Sūtras’ explanation and 3) Udāharaṇa or examples. The word or noun analysis starts with statements, arrangement of Sūtra containing gender, numbers, conjugation, word ending, suffixs. Word composition was done by following Sūtra strictly; Sanjansūtra, Pribhasasūtra, Vidhisūtra, Niyamasūtra, Atidesasūtra and Adhikarasūtra. The forming of words, verbs and vocabulary appear similar to Pali but its differences lie on Pali was a moderate language, Pali words open for various interpretations and meanings while Sanskrit singular meaning. Anyway, both of Sanskrit and Pali deserve its own source of founder, Pali aims at realizing the Buddhist absolute truth while Sanskrit source comes from root and meaning of Theistic background. On the structure of language, Sanskrit structure is that Sanskrit contains 14 vowels, divided into 3 level; Pakati, Guna and Vriddhi, 35 alphabets divided into 2 groups; Varga and Avarga, 3 genders similar to Pali, 3 terms; Ekavacana, Dvivacana and Bahuvacana while Pali only Ekavacana and Bahuvacana. Laghukaumudi explained the verb conjugation into 3 sub-groups; 1) Pancasthāna, 2) Bhasthāna and 3) Padasthāna which found not in Pali. There are 14 conjugation, 2 types of word endings; Sarakāranta and Vyanjanakāranta while Pali only Sarakāranta found. Verb roots consist of 10 groups, its changing of form in each item depends on its subject, tenses and moods which is similar to Pali confirming the close relation of Sanskrit and Pali. Its values are that 1) literature value seen in the bridge of Brahman thought and moral background, 2) being model of later grammatic texts and 3) the value of Pali studies.
This thesis aims at 3 purposes; 1) to transliterate manuscript of Laghukaumudi of Varadarāja with Sanskrit language into Thai latter, 2) to translate into Thai version, 3) to analyze its author, structure, main contents comparing to Pali and valuate it. The research was documentary by investigating on scripture then analyzed, complied in descriptive style. The findings were that Laghukaumudi is the abridgement of Siddhantakaumudi done by Varadaraja to be basic manual text for Sanskrit grammar. He compiled by taking Sūtra of Pāṇini or Așṭādhayayāni as main references to explain the formula of grammartic system. His aims were to make difficult and complicated Sanskrit to be easier for readers. The contents contain 11 parts; 1) Sajña 2) Sandhi 3) Subanta 4) Avyaya 5) Tinanta 6) Prakriyā 7) Kridanta 8) Samasa 9) Tadthita 10) Strīprattaya 11) Kāraka which are quite similar to Pali grammar but Pali has less repletion of words and combinations. It was done by Sūtra forms consisting of 1) Sūtra as its main task, 2) Vritti or Sūtras’ explanation and 3) Udāharaṇa or examples. The word or noun analysis starts with statements, arrangement of Sūtra containing gender, numbers, conjugation, word ending, suffixs. Word composition was done by following Sūtra strictly; Sanjansūtra, Pribhasasūtra, Vidhisūtra, Niyamasūtra, Atidesasūtra and Adhikarasūtra. The forming of words, verbs and vocabulary appear similar to Pali but its differences lie on Pali was a moderate language, Pali words open for various interpretations and meanings while Sanskrit singular meaning. Anyway, both of Sanskrit and Pali deserve its own source of founder, Pali aims at realizing the Buddhist absolute truth while Sanskrit source comes from root and meaning of Theistic background. On the structure of language, Sanskrit structure is that Sanskrit contains 14 vowels, divided into 3 level; Pakati, Guna and Vriddhi, 35 alphabets divided into 2 groups; Varga and Avarga, 3 genders similar to Pali, 3 terms; Ekavacana, Dvivacana and Bahuvacana while Pali only Ekavacana and Bahuvacana. Laghukaumudi explained the verb conjugation into 3 sub-groups; 1) Pancasthāna, 2) Bhasthāna and 3) Padasthāna which found not in Pali. There are 14 conjugation, 2 types of word endings; Sarakāranta and Vyanjanakāranta while Pali only Sarakāranta found. Verb roots consist of 10 groups, its changing of form in each item depends on its subject, tenses and moods which is similar to Pali confirming the close relation of Sanskrit and Pali. Its values are that 1) literature value seen in the bridge of Brahman thought and moral background, 2) being model of later grammatic texts and 3) the value of Pali studies.