Publication: City of Mirroring GlassPaul Auster’s Obscured Detective
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2015
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1865-8646
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of English Studies
Volume
10
Issue
Edition
Start Page
137
End Page
171
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
City of Mirroring GlassPaul Auster’s Obscured Detective
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This article explores Paul Auster’s novel City of Glass (1985) in the context of the detective fiction genre. Against the backdrop of his protagonists’ fractured subjectivity and the fluctuating and alienating environment of the postmodern city, City of Glass deconstructs the detective fiction genre and the associated principles of investigating and solving crimes. Through a careful analysis of different elements, the novel subverts and borrows from the classical whodunit; it more generally explores the function and the place of the detective figure in postmodern fiction. In his work, Auster calls into question the very fundaments on which traditional detective fiction rests. This radical disjunction between classic detective figures and Auster’s writer-detective mirrors the fundamental shift from modernism to postmodernism and the resulting disintegration of traditional forms of reasoning and narrative modes. The terminology suggested to capture the multitude of Auster’s reworking of crime fiction, as is one of the key claims of this article, requires critical reassessment. Rather than following the general trend of using “metaphysical”, “postmodern”, and “anti-detective” fiction synonymously, this article suggests that each term points to a distinct aspect of Auster’s original engagement with crime fiction.
บทความนี้ศึกษานวนิยายของพอล ออสเตอร์ เรื่อง City of Glass (1985) ในบริบทของนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวน นวนิยายเรื่องนี้ได้รื้อถอนนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวนและหลักการสืบสวนและคลี่คลายคดี โดยผ่านอัตวิสัยที่แตกสลายของตัวละครเอกและสภาพแวดล้อมที่แปรเปลี่ยนและเปล่าเปลี่ยวของสังคมเมืองยุคหลังสมัยใหม่ บทความนี้ศึกษาหน้าที่ของนักสืบในนวนิยายหลังสมัยใหม่โดยวิเคราะห์องค์ประกอบที่ได้หยิบยืมและรื้อถอนจากนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวนแบบดั้งเดิม ในงานของออสเตอร์เขาได้ตั้งคำถามเกี่ยวกับองค์ประกอบพื้นฐานของนวนิยายดังกล่าว แนวคิดเรื่องการรื้อถอนระหว่างนักสืบแบบดั้งเดิมและนักสืบที่เป็นนักเขียนของออสเตอร์ สะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนจากโมเดิร์นนิสึ่มไปสู่โพสโมเดิร์นนิสึ่มและการล่มสลายของการให้เหตุผลและขนบการเล่าเรื่อง ข้อวิพากษ์หลักของบทความนี้คือ คำนิยามที่ใช้อธิบายวิธีการเขียนของออสเตอร์นั้นควรนำกลับมาประเมินวิเคราะห์อีกครั้ง บทความนี้เสนอว่า คำว่า นวนิยายแนวอภิปรัชญา นวนิยายหลังสมัยใหม่ และนวนิยายสืบสวนสอบสวนนอกขนบซึ่งใช้เสมือนเป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่ละคำแสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของงานเขียนของออสเตอร์
บทความนี้ศึกษานวนิยายของพอล ออสเตอร์ เรื่อง City of Glass (1985) ในบริบทของนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวน นวนิยายเรื่องนี้ได้รื้อถอนนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวนและหลักการสืบสวนและคลี่คลายคดี โดยผ่านอัตวิสัยที่แตกสลายของตัวละครเอกและสภาพแวดล้อมที่แปรเปลี่ยนและเปล่าเปลี่ยวของสังคมเมืองยุคหลังสมัยใหม่ บทความนี้ศึกษาหน้าที่ของนักสืบในนวนิยายหลังสมัยใหม่โดยวิเคราะห์องค์ประกอบที่ได้หยิบยืมและรื้อถอนจากนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวนแบบดั้งเดิม ในงานของออสเตอร์เขาได้ตั้งคำถามเกี่ยวกับองค์ประกอบพื้นฐานของนวนิยายดังกล่าว แนวคิดเรื่องการรื้อถอนระหว่างนักสืบแบบดั้งเดิมและนักสืบที่เป็นนักเขียนของออสเตอร์ สะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนจากโมเดิร์นนิสึ่มไปสู่โพสโมเดิร์นนิสึ่มและการล่มสลายของการให้เหตุผลและขนบการเล่าเรื่อง ข้อวิพากษ์หลักของบทความนี้คือ คำนิยามที่ใช้อธิบายวิธีการเขียนของออสเตอร์นั้นควรนำกลับมาประเมินวิเคราะห์อีกครั้ง บทความนี้เสนอว่า คำว่า นวนิยายแนวอภิปรัชญา นวนิยายหลังสมัยใหม่ และนวนิยายสืบสวนสอบสวนนอกขนบซึ่งใช้เสมือนเป็นคำที่ใช้แทนกันได้ แต่ละคำแสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของงานเขียนของออสเตอร์