Publication: โครงสร้างข้อความอธิบายความ (Expository Text Structure): จากแนวคิดสู่การปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ
dc.contributor.author | ปิยะนุช พุฒแก้ว | |
dc.contributor.author | Poothkaew, Piyanuch | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T14:40:25Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T14:40:25Z | |
dc.date.issuedBE | 2561 | |
dc.description.abstract | การอ่านข้อความภาษาอังกฤษได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจําวันของคนและเกิดขึ้นจากวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป เช่น เพื่อการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาตามระบบการศึกษา เพื่อค้นคว้าหาความรู้ตามสายงานอาชีพ เพื่อประยุกต์ใช้ข้อมูลข่าวสารสําหรับการดํารงชีวิตอย่างมีคุณภาพหรือเพื่อการทดสอบทักษะภาษาอังกฤษ ข้อความภาษาอังกฤษดังกล่าวมักเป็นข้อความที่มีโครงสร้างข้อความอธิบายความซึ่งมีการจัดระบบภายในของข้อความที่ผู้เขียนมุ่งให้ข้อมูลและนําเสนอเนื้อหาสาระเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้อ่าน โครงสร้างข้อความอธิบายความมีหลายรูปแบบ และที่มักพบมี 5 รูปแบบ คือ โครงสร้างข้อความแบบบรรยาย แบบแสดงลําดับเหตุการณ์ แบบปัญหาและการแก้ไข แบบเหตุและผล และแบบการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง เอกสารและงานวิจัยที่ผ่านมาสะท้อนให้เห็นว่าประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้อ่านเกี่ยวกับโครงสร้างข้อความอธิบายความหลายแบบมีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมความสามารถในการทําความเข้าใจข้อความที่อ่าน ความตระหนักรู้ถึงโครงสร้างข้อความมีความสัมพันธ์สูงต่อความเข้าใจในการอ่าน ผู้อ่านที่ไม่ตระหนักถึงโครงสร้างข้อความของบทอ่านจะเสียเปรียบเนื่องจากผู้อ่านกลุ่มนี้อ่าน โดยไม่มีแผนการอ่านใด ๆ ในทางตรงกันข้าม ผู้อ่านที่คุ้นเคยกับโครงสร้างข้อความหลายแบบจะอ่านบทอ่านโดย คาดหวังข้อมูลจากบทอ่านนั้นและมีวิธีการอ่านที่ชัดเจนของตนเอง นักการศึกษาเห็นว่าประสบการณ์และการฝึกฝนการอ่านบทอ่านที่มีโครงสร้างข้อความอธิบายความจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถพัฒนาทักษะที่เป็นประโยชน์สําหรับความเข้าใจในการอ่านที่ดีขึ้นในการอ่านบทอ่านที่จะมีความซับซ้อนมากกว่าเดิม | |
dc.description.abstract | Reading texts in English is a part of an individual’s everyday life and often serves different purposes, such as learning courses based on an educational system, pursuing knowledge-based routines, applying information for quality of life, and assessing English proficiency in test format. Most English texts are written with an expository text structure, whereby the text is systematically constructed with an internal structure and aims to provide information about its topic to the reader. The expository text structures commonly found in English language texts can be classified into five types: description, sequence, problem–solution, cause–effect, and compare/contrast. Research findings reflect that a reader’s learning experience with a variety of different types of expository text structure plays a pivotal role in enhancing reading comprehension. Readers who are familiar with a variety of different types of expository text structure will read strategically and extract key points from their readings. By contrast, readers who are not aware of the text structure can tend to read without using reading strategies. Educators have suggested that experience with and training on a variety of different types of expository text structure will improve readers’ reading comprehension for more complicated English texts. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/8768 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | โครงสร้างข้อความอธิบาย | |
dc.subject | ความแนวคิดสู่การปฏิบัติ | |
dc.subject | การเสริมสร้างทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ | |
dc.subject | Expository Text Structure | |
dc.subject | Concept To Practice | |
dc.subject | Enhancement Of English Reading Skills | |
dc.subject.contentCoverage | ENG - อังกฤษ | |
dc.subject.isced | 0231 การเรียนภาษา | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | โครงสร้างข้อความอธิบายความ (Expository Text Structure): จากแนวคิดสู่การปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ | |
dc.title.alternative | Expository Text Structure: From Concept to Practice for the Enhancement of English Reading Skills | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 164 | |
harrt.researchArea | ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics) | |
harrt.researchGroup | ภาษาศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | การเรียนการสอนภาษา (Language Teaching) | |
harrt.researchTheme.2 | วัจนปฏิบัติศาสตร์/ปริจเฉทวิเคราะห์/วาทกรรมวิเคราะห์ (Pragmatics/Discourse analysis) | |
mods.location.url | https://so04.tci-thaijo.org/index.php/joling/article/view/154824/ | |
oaire.citation.endPage | 80 | |
oaire.citation.issue | Special | |
oaire.citation.startPage | 53 | |
oaire.citation.title | ภาษาและภาษาศาสตร์ | |
oaire.citation.title | Language and Linguistics | en |
oaire.citation.volume | 36 |