Publication: การถ่ายโอนทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในการแสดงความไม่พอใจ ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศชาวไทย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
อินทนิลทักษิณสาร
Inthaninthaksin Journal
Inthaninthaksin Journal
Volume
13
Issue
1
Edition
Start Page
189
End Page
222
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การถ่ายโอนทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในการแสดงความไม่พอใจ ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศชาวไทย
Alternative Title(s)
Pragmatic Transfer in the Speech Act of Complaints by Thai JFL Learners
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรียบเทียบการเลือกใช้กลวิธี ในการแสดงความไม่พอใจในสถานการณ์ต่าง ๆ 2) ศึกษาการถ่ายโอนทางวัจนปฏิบัติ ศาสตร์ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศชาวไทย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เจ้าของภาษาชาวญี่ปุ่น (JNS) จำนวน 52 คน ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยระดับสูง (TLJ-A) จำนวน 34 คน ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยระดับต้น (TLJ-B) จำนวน 57 คน และเจ้าของภาษาชาวไทย จำนวน 61 คน รวม 204 คน เครื่องมือที่ใช้ในงาน วิจัยคือ แบบทดสอบชนิดเติมเต็มบทสนทนา (Discourse Completion Test : DCT) โดยการเขียนตอบแสดงความไม่พอใจในสถานการณ์ต่าง ๆ รวม 9 สถานการณ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) กลวิธีที่พบการใช้มากที่สุดในทุกกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลวิธีที่ 5(การเรียกร้องให้ปรับปรุงแก้ไข) กลวิธีที่ 12 (ไม่แสดงการคุกคามหน้า) กลวิธีที่ 8 (การพูดให้ข้อมูลเพื่อให้รู้สึกผิด) กลวิธีที่ 11 (การถามหาเหตุผล) กลวิธีที่ 4 (การใช้ คำถามเชิงวาทศิลป์) และกลวิธีที่ 2 (การใช้คำที่มีความหมายทางลบ) 2) ชนิดของ ลำดับข้อความย่อยที่ปรากฏมากที่สุดเป็นกลวิธีเดี่ยวและคู่ และพบความหลากหลาย ของชนิดท่มี ีลำดับของความย่อยท่มี ากกว่า 2 ชนิดจำนวนมาก 3) พบการถ่ายโอ นทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในกลุ่มผู้เรียนทั้งสองกลุ่ม เป็นที่น่าสนใจว่ากลุ่มผู้เรียนภาษา ญี่ปุ่นชาวไทยระดับต้น (TLJ-B) มีการใช้กลวิธีที่ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษาชาวญี่ปุ่น (JNS) เพียงแต่พบข้อผิดพลาดการใช้คำศัพท์และไวยากรณ์ ในขณะที่กลุ่มผู้เรียน ภาษาญี่ปุ่นชาวไทยระดับสูง (TLJ-A) ซึ่งมีระดับความสามารถทางภาษาสูง สามารถ ใช้รูปประโยคได้หลากหลายทำให้เกิดการใช้กลวิธีที่แตกต่างออกไปจากทั้งเจ้าของ ภาษาชาวญี่ปุ่น (JNS) และเจ้าของภาษาชาวไทย (TNS) ผลการศึกษาในครั้งนี้เป็น ข้อมูลพื้นฐานไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้กลุ่มผู้เรียนทั้ง 2 กลุ่มตระหนัก ถึงความสำคัญของการสื่อสารภาษาญี่ปุ่นที่ถูกต้องตามหลักวัจนปฏิบัติศาสตร์