Publication: การศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้คำบ่งชี้ ko so และ a ของนิสิตสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2016
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารราชนครินทร์
Journal of Rajanagarindra
Journal of Rajanagarindra
Volume
13
Issue
30
Edition
Start Page
203
End Page
213
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้คำบ่งชี้ ko so และ a ของนิสิตสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร
Alternative Title(s)
THE STUDY OF ERRORS IN USING OF KO SO AND A OF THE JAPANESE MAJOR STUDENTS AT NARESUAN UNIVERSITY
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้คำบ่งชี้ “ko” “so” และ “a” ของนิสิตสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ชั้นปี 3 และ 4 มหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 48 คน โดยให้นิสิตทำแบบทดสอบเกี่ยวกับการใช้คำบ่งชี้ “ko” “so” และ “a” ซึ่งเป็นแบบให้ เลือกตอบจำนวน 30 ข้อโดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 2 ด้าน คือ 1) คำบ่งชี้เฉพาะสถานที่ซึ่งแสดงถึงระยะห่างหรือขอบเขตของผู้พูดและผู้ฟัง 2) คำบ่งชี้เฉพาะเนื้อหาซึ่งแสดงถึงเรื่องราวหรือเนื้อหาที่ผู้พูดและผู้ฟังกล่าวถึง เมื่อได้ข้อมูลจะทำการวิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่และ หาค่าเฉลี่ยของผลความผิดพลาดในการใช้คำบ่งชี้ แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงสถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ผลจากการ ศึกษาพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถเลือกใช้คำบ่งชี้เฉพาะเนื้อหาได้อย่างถูกต้องซึ่งเป็นการใช้คำบ่งชี้ที่ผู้เรียนจะต้องทำความเข้าใจใน รูปประโยคมากกว่าการใช้คำบ่งชี้เฉพาะสถานที่ นอกจากรูปประโยคที่ต้องทำความเข้าใจให้ดีแล้วในตำราเรียนภาษาญี่ปุ่นชั้นต้นที่ผู้เรียน ได้ใช้เรียนไม่มีคำอธิบายที่ละเอียดชัดเจนจึงส่งผลให้ผู้เรียนเลือกใช้คำบ่งชี้ผิดพลาดได้ นอกจากนี้ ในการทำแบบทดสอบผู้เรียนจะต้องอธิบาย เหตุผลที่เลือกตอบในตัวเลือกนั้นๆ ด้วย จากเหตุผลที่เลือกตอบทำให้ทราบว่าผู้เรียนบางคนไม่สามารถแยกประเภทของการใช้คำบ่งชี้ได้ว่า ข้อใดเป็นด้านคำบ่งชี้เฉพาะสถานที่หรือข้อใดเป็นด้านคำบ่งชี้เฉพาะเนื้อหาจึงทำให้ผู้เรียนไม่สามารถเลือกใช้คำบ่งชี้เหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง ส่วนด้านการใช้คำบ่งชี้เกี่ยวกับการบ่งชี้เฉพาะสถานที่พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีการใช้คำบ่งชี้ผิดพลาดในเรื่องของการบ่งชี้ทิศทาง