Publication: ผลการเรียนรู้คำช่วยชี้สถานที่ (に、で、を) และการนำไปประยุกต์ใช้ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นผ่านกระบวนการเรียนการสอนแบบทางตรง
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University
Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University
Volume
42
Issue
2
Edition
Start Page
279
End Page
303
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ผลการเรียนรู้คำช่วยชี้สถานที่ (に、で、を) และการนำไปประยุกต์ใช้ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นผ่านกระบวนการเรียนการสอนแบบทางตรง
Alternative Title(s)
Locative Particles (ni, de, o) Learning Achievement and Application of Japanese Learners Taught with Direct Instruction
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
บทความนี้มีจุดมุ่งหมายคือ 1) เพื่อศึกษาสัมฤทธิ์ผลความเข้าใจเรื่องคำช่วยชี้สถานที่ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรที่ผ่านกระบวนการเรียนการสอนแบบทางตรงในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 1-4 โดยอาศัยมุมมองเรื่องการวัดผลการบรรลุจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) ตามทฤษฎีของบลูม (Bloom’s Taxonomy) 2) เพื่อศึกษาความแตกต่างของกระบวนการคิดในการเลือกใช้คำช่วยชี้สถานที่ในระดับความจำ ระดับความเข้าใจ และระดับการประยุกต์ใช้โดยใช้เครื่องมือทดสอบทางสถิติ 3) เพื่อหาแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการเรียนการสอนแบบทางตรงในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 1-4 ค่อนข้างสัมฤทธิ์ผลในการสอนคำช่วยชี้สถานที่ที่ใช้ความจำอย่างเห็นได้ชัด 2) จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยในการเลือกตอบเหตุผลด้วยการทดสอบ F-test วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ ANOVA พบว่า ค่าเฉลี่ยในการเลือกตอบเหตุผลของแต่ละระดับแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ผลงานวิจัยนี้ทำให้เห็นถึงกระบวนการคิดในการเลือกใช้คำช่วยรวมถึงข้อผิดพลาดในการเลือกใช้คำช่วยชี้สถานที่ของนักศึกษา ซึ่งเป็นแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 1-4 ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น