Publication: ศึกษาแนวคิดทางสุนทรียศาสตร์ที่ปรากฏในพระพุทธรูปตอกสานล้านนา
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ศึกษาแนวคิดทางสุนทรียศาสตร์ที่ปรากฏในพระพุทธรูปตอกสานล้านนา
Alternative Title(s)
Analytical study of the aesthetical concept of woven bamboo Buddha image in Lanna
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วิทยานิพนธ์เรื่อง ศึกษาแนวคิดทางสุนทรียศาสตร์ที่ปรากฏในพระพุทธรูปตอกสานล้านนา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑. เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องสุนทรียศาสตร์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ๒. เพื่อศึกษาแนวคิดและคติความเชื่อเรื่องพระพุทธรูปตอกสาน ๓. เพื่อศึกษาวิเคราะห์แนวคิดสุนทรียศาสตร์ในพระพุทธรูป ตอกสาน ผลการศึกษาพบว่าสุนทรียศาสตร์ ในระบบคำสอนของพุทธปรัชญาเถรวาท เกิดจากคำสอนของพระพุทธเจ้าที่ได้มีการรวบรวมไว้ในคัมภีร์พระไตรปิฎก รวมถึงอรรถาธิบายและทัศนะของนักคิดนักวิชาการยุคหลังที่เกี่ยวของ ในระบบคำสอนของพุทธปรัชญาเถรวาทกล่าวถึงความงามที่มีปรากฏในรูปของหลักธรรม เนื่องจากสุนทรียศาสตร์ในพุทธปรัชญา ไม่ได้มีส่วนแยกจากหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเลย แต่เป็นสิ่งที่ควบคู่กัน ซึ่งก็พอให้เรารู้ได้ว่า พุทธปรัชญา แบ่งเป็นความงามออกเป็น ๒ ส่วน คือ ความงามภายนอกซึ่งเรียกว่า รูปธรรม กับความงามภายใน ซึ่งเรียกว่า นามธรรม แต่ทั้งสองอย่างนี้ก็ยังมีความเกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่นการสร้างพระพุทธรูปตอกสานในล้านนาที่เกิดขึ้นนั้น เกิดจากภูมิปัญญาของช่างชาวพม่า ที่มีความเชื่อความศรัทธาต่อการสร้างพระพุทธรูป คือพระเจ้าอินทร์สาน (ประเทศพม่า) จนทำให้มีการเกิดเป็นสกุลช่างที่มีลักษณะเด่นของงานศิลปะ แปลกใหม่ที่กำลังเกิดขึ้นและแพร่หลายในไทยล้านนา ถึงแม้วัสดุที่ใช้ทำจะมีความแปลกตา ไปจากพระพุทธรูปสมัยก่อน แต่ก็จัดได้ว่าเป็นพระพุทธรูปที่มีการสร้างขึ้นด้วยความศรัทธา ด้วยความเคารพในพระพุทธเจ้า และสร้างตามหลักของมหาปุริสลักขณะ ๓๒พระพุทธรูปตอกสาน จัดได้ว่าเป็นพระพุทธรูปที่มีความงามตามแนวคิดสุนทรียศาสตร์ในพุทธ ปรัชญาเถรวาท และจัดเป็นสิ่งที่มีคุณค่าทางศิลปะหรือพุทธศิลป์ ส่วนระดับเชิงลึก ก็จัดได้ว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าทางใจ คือ เป็นไปเพื่อความเคารพ เพื่อความนอบน้อม และรำลึกถึงคุณ ๓ ประการ คือ พระบริสุทธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณ และพระปัญญาธิคุณ ได้เช่นเดียวกับพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นโดยทั่วไป เพียงแต่แตกต่างกันที่ลักษณะของศิลปะ คือ วัสดุที่นำมาใช้ในการสร้าง แต่นั่นก็เป็นเรื่องของศิลปินผู้จัดสร้างที่มีพัฒนาการทางศิลป์ ส่วนคุณค่าทางใจนั้นยังคงอยู่
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
บัณฑิตวิทยาลัย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย