Publication: Secularity, Emotion and Law in Ian McEwan’s: The Children Act
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
0859-9920 (Print), 2673-0103 (Online)
eISSN
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Manusya, Journal of Humanities
Volume
23
Issue
Edition
Start Page
1
End Page
18
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Secularity, Emotion and Law in Ian McEwan’s: The Children Act
Alternative Title(s)
ความเป็นฆราวาส อารมณ์ และกฎหมายในนวนิยายเรื่ อง The Children Act ของเอียน แม็คคิววัน
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This paper examines Ian McEwan’s The Children Act as a work of fiction that explores the contemporary issue of secularism. My argument is that the novel’s exploration of the interplay between law and feelings demonstrates McEwan’s attempt to defy the dichotomous quality commonly attributed to law. By juxtaposing the implementation of law and religious practices, the novel’s dramatization of the collision between these two forces shows that emotion and feeling are never absent from the allegedly unsympathetic secular civic institution. The realm of law can offer both sympathy and compassion to people who are subject to it.
บทความนี้มุ่งศึกษานวนิยายเรื่อง The Children Act ของเอียน แม็คคิววันในฐานะเรื่องแต่งที่นำเสนอประเด็นปัญหาในสังคมร่วมสมัยเกี่ยวกับแนวคิดฆราวาสนิยม ผู้วิจัยโต้แย้งว่าการนำเสนอบทบาทระหว่างกฎหมายและอารมณ์ความรู้สึกในนวนิยายเรื่องนี้แสดงให้เห็นถึงความพยายามของแม็คคิววันที่จะทลายแนวคิดแบบขั้วตรงข้ามที่มักถูกนำมาผูกโยงกับกฎหมาย แม็คคิววัน เปรียบเทียบการใช้อำนาจทางกฎหมายกับวิธีปฏิบัติทางศาสนาและแสดงให้ผู้อ่านเห็นว่าการตัดสินคดีความทางกฎหมายในศาลซึ่งถือเป็นสถาบันฝ่ายพลเรือนทางฆราวาสนั้นไม่ได้เป็นกระบวนการอันปราศจากอารมณ์และความรู้สึกเสมอไป ตัวกฎหมายเองก็สามารถแสดงความเห็นใจและความอาทรต่อผู้อยู่ใต้บังคับของกฎหมายได้เช่นกัน
บทความนี้มุ่งศึกษานวนิยายเรื่อง The Children Act ของเอียน แม็คคิววันในฐานะเรื่องแต่งที่นำเสนอประเด็นปัญหาในสังคมร่วมสมัยเกี่ยวกับแนวคิดฆราวาสนิยม ผู้วิจัยโต้แย้งว่าการนำเสนอบทบาทระหว่างกฎหมายและอารมณ์ความรู้สึกในนวนิยายเรื่องนี้แสดงให้เห็นถึงความพยายามของแม็คคิววันที่จะทลายแนวคิดแบบขั้วตรงข้ามที่มักถูกนำมาผูกโยงกับกฎหมาย แม็คคิววัน เปรียบเทียบการใช้อำนาจทางกฎหมายกับวิธีปฏิบัติทางศาสนาและแสดงให้ผู้อ่านเห็นว่าการตัดสินคดีความทางกฎหมายในศาลซึ่งถือเป็นสถาบันฝ่ายพลเรือนทางฆราวาสนั้นไม่ได้เป็นกระบวนการอันปราศจากอารมณ์และความรู้สึกเสมอไป ตัวกฎหมายเองก็สามารถแสดงความเห็นใจและความอาทรต่อผู้อยู่ใต้บังคับของกฎหมายได้เช่นกัน