Publication: การศึกษาวิเคราะห์หน้าที่ความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญา
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2012
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาวิเคราะห์หน้าที่ความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญา
Alternative Title(s)
An Analysis of Human in Theravada Buddhist Philosophy
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิจัยเอกสารซึ่งมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท หน้าที่ของความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท และ วิเคราะห์หน้าที่ความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการศึกษาพบว่า ความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท กล่าวคือ ความหมายของมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง มนุษย์เป็นสัตว์สังคมและมนุษย์สามารถหลุดพ้นได้โดยจิต ซึ่งความสำคัญของมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท เน้นที่ตัวมนุษย์เป็นสำคัญ หรือมีมนุษย์เป็นศูนย์กลางของคำสอนและมีการฝึกฝนพัฒนาด้านจิตใจและปัญญาตามลำดับ ความเป็นผู้มีกาย, ศีล, จิตและปัญญาที่พัฒนาแล้วเท่านั้น จึงจะได้ชื่อว่าเป็นผู้ประเสริฐที่สุดในหมู่มนุษย์ และที่สำคัญมนุษย์ไม่ได้มีการดำเนินไปอย่างเลื่อนลอยโดยไม่มีกฏเกณฑ์อะไร แต่ดำเนินชีวิตอย่างมีระเบียบและตามกฎเกณฑ์ที่แน่นอน ซึ่งมนุษย์ได้สร้างหลักประกันความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวคือ มนุษย์มีความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น และถือหลักสิทธิมนุษยชน หลักเสรีภาพ และ เพื่อให้การพัฒนามนุษย์เป็นไปอย่างสมบูรณ์และปลอดภัยในชีวิต หน้าที่ความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท กล่าวได้ว่า ความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาทนั้นตามความหมายของหน้าที่มนุษย์ คือ สิ่งที่ต้องทำ หน้าที่ของมนุษย์ก็มีอยู่เพียงสองอย่างเท่านั้น คือ หน้าที่ที่ต้องทำแก่ตนเองอย่างหนึ่ง และหน้าที่ที่ต้องทำให้แก่คนอื่นอย่างหนึ่ง เพราะความสำคัญของหน้าที่มนุษย์นั้นอยู่ที่การนำเอาหลักธรรมมาปรับใช้ให้เหมาะสม โดยลักษณะหน้าที่ของมนุษย์ คือการแสวงหาความดีและให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในหน้าที่ ซึ่งมนุษย์จะต้องรักษาศีล และการกระทำหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มที่ วิเคราะห์หน้าที่ความเป็นมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท กล่าวคือ การทำหน้าที่ของมนุษย์จะเกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของตนเองและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ ซึ่งจำแนกหน้าที่ออกได้เป็น ๖ ประการ คือ (๑) หน้าที่ของบิดา มารดา (๒) หน้าที่ของครูบา อาจารย์ (๓) หน้าที่ของภรรยา บุตร (๔) หน้าที่ของมิตร สหาย (๕) หน้าที่ของบ่าว ไพร่ ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา และ (๖) หน้าที่พระสงฆ์ สมณะพราหมณ์ หรือ นักบวช ซึ่งหลักพุทธปรัชญาเถรวาทได้กล่าวถึงมนุษย์ที่สมบูรณ์นั้น คือ จะต้องอาศัยการทำหน้าที่ของตนให้ดีก่อน และรู้จักนำเอาหลักธรรมมาปรับใช้กับหน้าที่ของตน มนุษย์จึงจะมีความความสมบูรณ์ในการทำหน้าที่ให้กับผู้อื่นต่อไป
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
บัณฑิตวิทยาลัย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย