Publication: การพัฒนารูปแบบการสอนการอ่านเชิงวิชาการโดยใช้แนวทางการเรียนรู้ภาษาเพื่อความรู้ความเข้าใจทางวิชาการ ในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษทางวิชาการ กลวิธีการเรียนรู้และทักษะการแก้ปัญหา
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2697-5033
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Roi Kaensarn Academi
Volume
6
Issue
12
Edition
Start Page
239
End Page
254
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การพัฒนารูปแบบการสอนการอ่านเชิงวิชาการโดยใช้แนวทางการเรียนรู้ภาษาเพื่อความรู้ความเข้าใจทางวิชาการ ในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษทางวิชาการ กลวิธีการเรียนรู้และทักษะการแก้ปัญหา
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพรูปแบบการสอน 2) ศึกษาการใช้กลวิธีการเรียนรู้ 3) ศึกษาทักษะการแก้ปัญหา 4) ศึกษาความคิดเห็น กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาปริญญาตรี สาขาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ภาคเรียนที่ 2 เทอม 2563 จำนวน 30 คน โดยเป็นตัวแทนประชากร เครื่องมือที่ใช้คือ 1) รูปแบบการสอน 2) แบบสอบถาม 3) แบบวัดกลวิธีการเรียนรู้ 4) แบบวัดความสามารถในการอ่าน 5) แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าทดสอบที (t-test) พบว่า 1. การพัฒนารูปแบบการสอนมี 5 องค์ประกอบหลัก และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล มีขั้นตอน 5 ขั้น ได้แก่ 1. ขั้นเตรียมความพร้อม 2. ขั้นการนำเสนอ 3. ขั้นปฏิบัติ 4. ขั้นการประเมินตนเอง และ5. ขั้นขยาย และประสิทธิภาพเท่ากับ 03/80.47 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการอ่าน พบว่า คะแนนการอ่านหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนทุกด้าน คิดเป็นร้อยละ 78 และการหาใจความสำคัญใช้มากที่สุด ร้อยละ 4.73 3. การใช้กลวิธีการเรียนรู้มากที่สุด คือ การอนุมาน โดยมีค่าเฉลี่ย ( = 4.00) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.459) 4. การเปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาก่อนและหลังใช้รูปแบบ พบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ความคิดเห็นของผู้เรียน พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.19 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.58 6. การรับรองรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.18 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.30