Publication: การวิเคราะห์โครงสร้างบทสนทนาระหว่างนักจัดรายการวิทยุคลื่น 94.0 EFM
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2012
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การวิเคราะห์โครงสร้างบทสนทนาระหว่างนักจัดรายการวิทยุคลื่น 94.0 EFM
Alternative Title(s)
An analysis of conversational structures of the 94.0 EFM radio hosts.
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างบทสนทนาระหว่างนักจัดรายการวิทยุและเพื่อศึกษากลวิธีการใช้ภาษาของนักจัดรายการวิทยุคลื่น 94.0 EFM ซึ่งเป็นคลื่นวิทยุประเภทบันเทิง ผู้วิจัยเก็บข้อมูลการสนทนาทั้งหมด 15 บทสนทนา จากการสนทนาของนักจัดรายการวิทยุทั้งหมด 5 คู่ จานวนคู่ละ 3 ครั้ง และจาก 3 รายการ ผู้วิจัยใช้แนวคิดของแซกส์ เชกลอฟ และเจฟเฟอร์สัน (Sacks, Schegloff, & Jefferson, 1974) เป็นแนวคิดหลักในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า นักจัดรายการวิทยุนิยมใช้การทักทายในการเปิดการสนทนา การปิดการสนทนาสามารถแบ่งออกเป็นการปิดการสนทนาชั่วคราวและการปิดการสนทนาถาวร การเปลี่ยนผลัดการพูดและการแสดงว่ารับฟังอยู่มีการใช้รูปภาษาหลายรูปแบบ การพูดซ้อนกันและการขัดจังหวะการพูดนั้นมีหน้าที่หลายหน้าที่ ส่วนการปรับแก้นอกจากจะใช้ในการให้ความกระจ่างแก่บางสิ่งแล้ว ยังพบว่ามีการใช้การปรับแก้เพื่อให้เกิดความตลกด้วย นอกจากจะมีการใช้รูปภาษาในการบ่งชี้การเปลี่ยนหัวข้อแล้ว การไม่ใช้รูปภาษาใดหรือตัวบ่งชี้ใดในการเปลี่ยนหัวข้อการสนทนาก็ยังคงทาให้คู่สนทนาเข้าใจและดาเนินการสนทนาได้อย่างปกติ ผลการศึกษากลวิธีการใช้ภาษาของนักจัดการวิทยุคลื่น 94.0 EFM พบว่านักจัดรายการวิทยุมีการใช้กลวิธีทั้งหมด 7 กลวิธี คือ การใช้ภาษาต่างประเทศ การใช้ภาษาไทยถิ่น การใช้คาแสลง การใช้คาไม่สุภาพ การเล่นคาหรือเสียง การเลียนแบบลักษณะการพูด และการใช้อักษรย่อ สาหรับภาษาต่างประเทศนั้นมีทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น และภาษาเกาหลี ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงกระแสวัฒนธรรมต่างชาติที่อยู่ในสังคมไทยในช่วงนั้น ผลการศึกษาโครงสร้างบทสนทนาระหว่างนักจัดรายการวิทยุคลื่น 94.0 EFM พบว่ามีโครงสร้างบทสนทนาที่คล้ายกับการสนทนาในชีวิตประจาวัน ส่วนกลวิธีส่วนใหญ่ที่นักจัดรายการวิทยุใช้ก็เพื่อทาให้เกิดความบันเทิงและเพื่อดึงดูดผู้ฟังให้ติดตามฟังรายการวิทยุ แต่ในขณะเดียวกันเมื่อเป็นสื่อวิทยุ นักจัดรายการวิทยุต้องใช้ความระวังและใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสม สาหรับหัวข้อการสนทนาของนักจัดรายการวิทยุมักเป็นเรื่องที่กาลังได้รับความสนใจในสังคม ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าในช่วงเวลานั้นสังคมไทยกาลังให้ความสนใจเรื่องอะไร
-
-
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาเเละวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล