Publication: การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดและกระบวนการพัฒนาจิตในพุทธปรัชญาเถรวาท
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2012
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดและกระบวนการพัฒนาจิตในพุทธปรัชญาเถรวาท
Alternative Title(s)
An Analytical Study of the Concept and Process Development of Citta in Theravada Buddhist Philosophy
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยเรื่องนี้มีประสงค์ คือ เพื่อศึกษาธรรมชาติของจิตในพุทธปรัชญาเถรวาท และเพื่อศึกษาวิเคราะห์กระบวนการพัฒนาจิตในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฏก เอกสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า แนวคิดเรื่องจิตในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทตามนัยแห่งอภิธรรมโดยย่อ มี ๘๙ ดวง โดยพิศดาร มี ๑๒๑ ดวง และมีสิ่งที่เกิดร่วมกับจิตคือเจตสิกอีก ๕๒ ดวงและคำที่เป็นไวพจน์กัน เช่น มโน มนัส หทัย มนะ มนายตนะ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ เป็นต้น จิตมี ๒ ลักษณะคือ สามัญลักษณะหรือจิตทั่วไปได้แก่ จิตที่ไปได้ไกล เที่ยวไปแต่ผู้เดียว ไม่มีรูปร่างและมีถ้ำคือร่างกายเป็นที่อยู่อาศัย และวิเสสลักษณะหรือจิตเฉพาะ ได้แก่ จิตที่ดิ้นรน กวัดแกร่งรักษาได้ยาก ข่มได้ยาก เป็นธรรมชาติที่เบา และหมกมุ่นในอารมณ์ที่รักใคร่ ส่วนธรรมชาติของจิตมีลักษณะที่พิเศษ คือ มีการรับรู้อารมณ์อยู่เสมอ เป็นธรรมชาติรู้ เป็นประธานในการทำสิ่งต่างๆ สิ่งทั้งปวงตกอยู่ในอำนาจของจิตทั้งสิ้น จิตมีการเกิดดับอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดนามรูป ส่วนจิตที่ได้รับการพัฒนาแล้ว เรียกว่า ภาวิตจิต หรือพัฒนาจิต หรือ กุศลจิต ในกระบวนการพัฒนาจิตนั้นต้องเริ่มจากการรู้จักปฏิบัติตนตามสิกขาบทที่ตนดำรงสถานภาพอยู่ทั้งสิกขาบทของพระภิกษุ สามเณร และศีลสำหรับคฤหัสถ์ เมื่อพัฒนาตนอยู่ในหลักศีลแล้วจะทำการสำรวมอินทรีย์ ๖ คือสำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพื่อที่จะสามารถเจริญจิตภาวนาหรือเจริญสมาธิให้มั่นคงเป็นสัมมาสมาธิได้ เมื่อจิตมั่นคงพอเป็นเหตุปัจจัยแก่การเจริญปัญญาแล้ว ย่อมพิจารณาธรรมทั้งปวง ได้อย่างถ่องแท้ เข้าใจถูกต้องตามความจริงตามลำดับแห่งการพัฒนา จนสามารถบรรลุเป้าหมายสูงสุดของจิตคือนิพพาน
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
บัณฑิตวิทยาลัย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย