Publication: Pragmatic Aspects and Semantic Denotations of Exceptional Case MarkingConstructions in English Novels, English Applied Linguistics Articlesand English Magazines
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2022
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1905-2863 (Print), 2730-2296 (Online)
eISSN
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Liberal Arts Review
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Volume
17
Issue
2
Edition
Start Page
32
End Page
58
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Pragmatic Aspects and Semantic Denotations of Exceptional Case MarkingConstructions in English Novels, English Applied Linguistics Articlesand English Magazines
Alternative Title(s)
วัจนปฎิบัติศาสตร์และความหมายเชิงอรรถศาสตร์ของโครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้น ในนวนิยาย บทความภาษาศาสตร์ประยุกต์และนิตยสาร
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This study examined pragmatic aspects and semantic denotations of exceptionalcase marking (ECM) constructions in English novels, English applied linguistics articles, and English magazines, whil e previous studies focusing on ECM constructions selected the data from a corpus, such as British National Corpus (BNC) and EFL learners’ writing. The six novels examined in this study, were The Hobbit (Tolkien, 2020), Persuasion (Austen, 2020), Dracula (Stoker, 2020), Sherlock Holmes(Doyle, 2021), Frankenstein (Shelly, 2022), and The Return of Sherlock Holmes(Doyle, 2022). Not only are they best-seller novels, but also the contents in these novels are suitable for everyone to read. Thedata of English applied linguistics articles were collected from international academic journals which were theEnglish for Academic Purposes, English for Specific Purposes, PASSA, LEARN Journal,Kasetsart Journal of Social Sciences, rEFLections, and HASSSbeing high-quality journals as indexed in the Scopus database. The data of English magazines were derived from National Geographic and Harvard Business Review. From a total of 450,000 words, with 150,000words for each dataset, 39 tokens were found. The framework of ECM constructions in this study follows Radford’s (2009) English sentence structures. The pragmatic aspects of ECM constructions in English novels are explained bytheeconomy principle and theend-weight principle. The use of ECM constructions is formulaic with such examples as believe someone to be and expect someone to do. The semantic denotations of ECM constructions in this study are explained by subjectivity and subsequent events. It is expected that the results of this study will be beneficial for learners of English as a Second Language (ESL) andEnglish as Foreign Language (EFL) in terms of learning theory and use of the ECM constructions in English novels, English applied linguistics articles and English magazines.
งานวิจัยครั้งนี้ศึกษาด้านวัจนปฎิบัติศาสตร์และความหมายเชิงอรรถศาสตร์ของตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นในตัวบทนวนิยายบทความภาษาศาสตร์ประยุกต์และนิตยสาร งานวิจัยโครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นก่อนหน้านี้เก็บรวบรวมข้อมูลมาจากคลังข้อมูลนานาชาติ เช่น British National Corpus (BNC) และงานเขียนของผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ งานวิจัยด้านวัจนปฎิบัติศาสตร์และความหมายเชิงอรรถศาสตร์ของโครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นในครั้งนี้จึงเลือกตัวบทที่แตกต่างออกไปโดยชุดข้อมูลนวนิยายเก็บรวบรวมมาจากนวนิยายที่ขายดีเป็นจำนวนหกเล่มคือ The Hobbit (Tolkien, 2020) Persuasion (Austen, 2020) Sherlock Holmes (Doyle, 2021) Frankenstein (Shelly, 2022) Dracula (Stoker, 2020) และ The Return of Sherlock Holmes (Dolye, 2022) ชุดข้อมูลวารสารภาษาศาสตร์ประยุกต์เก็บรวบรวมมาจากวารสาร English for Academic Purposes, English for Specific Purposes, Pasaa, LEARN Journal, Kasetsart Journal of Social Sciences, rEFLections และ HASSS ซึ่งเป็นวารสารภาษาศาสตร์ประยุกต์ที่มีคุณภาพสูงที่ถูกจัดอยู่ในฐานข้อมูลสกอปัส ชุดข้อมูลนิตยสารเก็บรวบรวมมาจากนิตยสาร National Geographic และ Harvard Business Review ชุดข้อมูลจำนวนทั้งสิ้น 450,000 คำ ประกอบด้วยคำ 150,000 คำจากแต่ละชุดข้อมูล โครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นถูกพบเป็นจำนวนทั้งสิ้น 39 ประโยค การวิเคราะห์ตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นในการศึกษาครั้งนี้ทำตามแบบของ Radford (2009) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการวิเคราะห์เชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์โครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นสามารถอธิบายได้โดย หลักความประหยัดและหลักการน้ำหนักปลาย ในเชิงวัจนปฎิบัติศาสตร์นั้นโครงสร้างการกที่ถูกยกเว้นถูกใช้อย่างเป็นระบบ เช่น believe someone to be และ expect someone to do โครงสร้างการกที่ถูกยกเว้นสามารถอธิบายได้โดยการแสดงความคิดเห็นส่วนบุคคลและเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองและผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศในเชิงทฤษฏีและการใช้โครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นในงานเขียนนวนิยายและบทความภาษาศาสตร์ประยุกต์
งานวิจัยครั้งนี้ศึกษาด้านวัจนปฎิบัติศาสตร์และความหมายเชิงอรรถศาสตร์ของตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นในตัวบทนวนิยายบทความภาษาศาสตร์ประยุกต์และนิตยสาร งานวิจัยโครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นก่อนหน้านี้เก็บรวบรวมข้อมูลมาจากคลังข้อมูลนานาชาติ เช่น British National Corpus (BNC) และงานเขียนของผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ งานวิจัยด้านวัจนปฎิบัติศาสตร์และความหมายเชิงอรรถศาสตร์ของโครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นในครั้งนี้จึงเลือกตัวบทที่แตกต่างออกไปโดยชุดข้อมูลนวนิยายเก็บรวบรวมมาจากนวนิยายที่ขายดีเป็นจำนวนหกเล่มคือ The Hobbit (Tolkien, 2020) Persuasion (Austen, 2020) Sherlock Holmes (Doyle, 2021) Frankenstein (Shelly, 2022) Dracula (Stoker, 2020) และ The Return of Sherlock Holmes (Dolye, 2022) ชุดข้อมูลวารสารภาษาศาสตร์ประยุกต์เก็บรวบรวมมาจากวารสาร English for Academic Purposes, English for Specific Purposes, Pasaa, LEARN Journal, Kasetsart Journal of Social Sciences, rEFLections และ HASSS ซึ่งเป็นวารสารภาษาศาสตร์ประยุกต์ที่มีคุณภาพสูงที่ถูกจัดอยู่ในฐานข้อมูลสกอปัส ชุดข้อมูลนิตยสารเก็บรวบรวมมาจากนิตยสาร National Geographic และ Harvard Business Review ชุดข้อมูลจำนวนทั้งสิ้น 450,000 คำ ประกอบด้วยคำ 150,000 คำจากแต่ละชุดข้อมูล โครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นถูกพบเป็นจำนวนทั้งสิ้น 39 ประโยค การวิเคราะห์ตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นในการศึกษาครั้งนี้ทำตามแบบของ Radford (2009) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการวิเคราะห์เชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์โครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นสามารถอธิบายได้โดย หลักความประหยัดและหลักการน้ำหนักปลาย ในเชิงวัจนปฎิบัติศาสตร์นั้นโครงสร้างการกที่ถูกยกเว้นถูกใช้อย่างเป็นระบบ เช่น believe someone to be และ expect someone to do โครงสร้างการกที่ถูกยกเว้นสามารถอธิบายได้โดยการแสดงความคิดเห็นส่วนบุคคลและเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองและผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศในเชิงทฤษฏีและการใช้โครงสร้างตัวบ่งชี้การกที่ถูกยกเว้นในงานเขียนนวนิยายและบทความภาษาศาสตร์ประยุกต์