Publication: การใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมในการอ่านเพื่อความเข้าใจ กรณีศึกษาผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยที่มีความสามารถแตกต่างกัน
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University
Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University
Volume
42
Issue
2
Edition
Start Page
253
End Page
278
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมในการอ่านเพื่อความเข้าใจ กรณีศึกษาผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยที่มีความสามารถแตกต่างกัน
Alternative Title(s)
The Use of Background Knowledge in Reading Comprehension: the Case Study of Thai Learners of Japanese at Different Proficiency Levels
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าในการอ่านบทอ่านแบบเล่าเรื่อง ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น ชาวไทยที่มีความสามารถทางภาษาแตกต่างกันใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมตามทฤษฎีโครงสร้างความรู้ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ผู้ให้ความร่วมมือเป็นผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยจำนวน 46 คน ทั้งหมดอ่านบทอ่านแบบเล่าเรื่องภาษาญี่ปุ่น (1,210 ตัวอักษร) และตอบคำถามเกี่ยวกับความรู้ด้านโครงสร้างบทอ่านและความรู้ด้านเนื้อหาของบทอ่าน จากนั้นผู้วิจัยสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล ผลการสำรวจพบว่า ผู้เรียนระดับสูงและระดับกลางตอนปลายมีแนวโน้มใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมเพื่อช่วยในการตีความโครงสร้างบทอ่านมากกว่าผู้เรียนระดับกลางและระดับต้นตอนปลาย โดยเฉพาะผู้เรียนระดับสูงพยายามประยุกต์ใช้กลยุทธ์การอ่านแบบ top-down และกลยุทธ์การอ่านแบบ bottom-up ร่วมกับการใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมเพื่อช่วยในการตอบคำถามเกี่ยวกับโครงสร้างบทอ่านด้วย นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้เรียนระดับสูงใช้กลยุทธ์การอ่านแบบ top-down เพื่อช่วยในการตอบคำถามเกี่ยวกับความรู้ด้านเนื้อหาของบทอ่านมากกว่าผู้เรียนระดับอื่นๆ