Publication: สำรวจความต้องการแบบเรียนหลักในรายวิชาภาษาญี่ปุ่น 1-4 ของนักศึกษา วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยทักษิณ
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
อินทนิลทักษิณสาร
Inthaninthaksin Journal
Inthaninthaksin Journal
Volume
13
Issue
2
Edition
Start Page
249
End Page
270
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
สำรวจความต้องการแบบเรียนหลักในรายวิชาภาษาญี่ปุ่น 1-4 ของนักศึกษา วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยทักษิณ
Alternative Title(s)
Need Survey of Japanese 1-4 Textbook for the Japanese Major Students, Thaksin University
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจความต้องการ แบบเรียนหลักในรายวิชาภาษาญี่ปุ่น 1-4 ของนักศึกษาวิชาเอกภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยทักษิณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักศึกษาวิชาเอกภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยทักษิณ ชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 103 คน ผู้วิจัยกำหนด ขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยะมะเนะ (1973) ใช้วิธีการสุ่มแบบ บังเอิญ รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคมถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ผลการศึกษาพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยความต้องการสูงสุด 4 อันดับแรก เป็น ความต้องการด้านเนื้อหาภายในแบบเรียน โดยความต้องการให้มีการอธิบาย ไวยากรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับไวยากรณ์ในบทมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (X = 4.57, S.D. = 0.65) และค่าเฉลี่ยความต้องการภาพประกอบภายในบทเป็นภาพถ่ายของจริงน้อยที่สุด (X = 3.82, S.D. = 1.09) 2) ความต้องการด้านรูปแบบตำราที่สูงที่สุด คือ มีเสียง อ่านกำกับอยู่ด้านบนของตัวอักษรคันจิ (ร้อยละ 31.07) ความต้องการด้าน เนื้อหาในบทเรียนที่สูงที่สุด คือ มีการอธิบายไวยากรณ์ที่เกี่ยวข้องกับไวยากรณ์ในบท (ร้อยละ 31.07) ความต้องการด้านองค์ประกอบศิลป์ที่สูงที่สุด คือ การจัดองค์ ประกอบในแต่ละหน้ามีความน่าสนใจ กระตุ้นให้อยากอ่าน (ร้อยละ 22.33) ความ ต้องการด้านรูปแบบของแบบฝึกหัดที่สูงที่สุด คือ มีแบบฝึกหัดหลากหลายรูปแบบ (ร้อยละ 31.07) อย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบแต่ละรายข้อค่าร้อยละความต้องการ ไม่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนต้องการตำราที่มีองค์ประกอบหลาย ๆ ด้าน รวมกัน ผู้สอนจึงควรวิเคราะห์ความต้องการแบบเรียนของผู้เรียน หากมีด้านใดที่ไม่ เพียงพอต่อความต้องการของผู้เรียนผู้สอนควรเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มสัมฤทธิผลการเรียน รู้ของผู้เรียน