Publication: 泰国华文现代文学中家庭教育问题的审视
View online Resources
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2010
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
文學院學報
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Volume
5
Issue
9
Edition
Start Page
39
End Page
50
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
泰国华文现代文学中家庭教育问题的审视
Alternative Title(s)
ปัญหาการอบรมสั่งสอนในครอบครัว : ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมสมัยใหม่ภาษาจีนในประเทศไทย
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
本论文搜集了泰国华文现代文学25位作家27部小说来作为家庭教育问题审视资料,都是二十世纪五十年代至今的泰国华侨华人对泰国华人家庭教育的构思创作,其中有三部为长篇小说,即陈仃(1932-1974)于公元1954年出版的《三聘姑娘》,谭真(1926-1985)于公元,1963年出版的《座山成之家》和亦非(?-1984)、亦舍(1927-现在)、沈牧(1936-现在)、笔匠(生平不详)、亚子(1923-1993)、和东方飘(生平不详)集体创作于公元1965年出版的《破毕舍歪传》。此外,还有24部于公元1980-2008年出版的短篇小说(详细出版年期参考附录作家作品一览表)。 从泰华现代文学作家塑造的小说中反映出家庭教育三个问题:1.传统家庭教育 2.家庭伦理道德 3.家庭子女的教育问题 这些问题的主要原因是父母教育观念错误、身心素质偏低,导致教育的方法失误和教育效果的减弱,家庭经济条件、封建传统家庭教育观念和方法,也引起了家庭教育的失败和不可挽回的错误。 本论文的历史价值:是为当代教育提供了重要的思想资源和对教育现实的启示作用。文学虽然是构思作品,但这些作品所反映的都是现实生活,可作为当代家庭教育的借鉴与启示,本分析成果可当为改进和发展社会的参考资料。
การศึกษาเรื่องปัญหาการอบรมสั่งสอนในครอบครัว: ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมสมัยใหม่ภาษาจีนในประเทศไทยนี้ ได้ศึกษาวรรณกรรมรวม 27 เรื่อง (นวนิยาย 3 เรื่อง และเรื่องสั้น 24 เรื่อง) ของกลุ่มนักเขียนชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ที่แต่งขึ้นในช่วงทศวรรษ 2490-ปัจจุบัน โดยมุ่งประเด็นที่การศึกษาอบรมในครอบครัวชาวจีนในไทย ผลการศึกษาพบว่า วรรณกรรมส่วนใหญ่ได้สะท้อนปัญหาการอบรมสั่งสอนในครอบครัว ใน 3 ลักษณะสำคัญคือ 1) การยึดถือจารีตประเพณีจีนอย่างเคร่งครัด 2) การขาดคุณธรรมจริยธรรมในครอบครัว และ 3) พ่อแม่ไม่สามารถอบรมสั่งสอนลูกได้ ทั้งนี้วรรณกรรมที่ศึกษามุ่งสะท้อนว่าสาเหตุหลักของปัญหามาจากพ่อแม่เป็นสำคัญ ที่ขาดความรู้ความสามารถในการอบรมสั่งสอนลูกอย่างถูกต้อง เพราะพ่อแม่ไม่ได้รับการศึกษาจากระบบโรงเรียน พ่อแม่ให้ความสำคัญเรื่องการหารายได้สร้างฐานะมากกว่าการอบรมสั่งสอนลูก และพ่อแม่มีความคิดความเชื่อแบบโบราณตามจารีตประเพณีมากเกินไป การศึกษาวรรณกรรมในลักษณะนี้ ทำให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของวรรณกรรมในแง่ที่เป็นสื่อสะท้อนสังคม ซึ่งนอกจากจะให้ข้อมูลสำคัญแล้ว ยังบอกความคิดความรู้สึกของผู้คนอีกด้วย จึงนับเป็นข้อมูลความรู้ที่มีคุณค่า ที่ไม่อาจหาได้จากแหล่งเอกสารอื่น แม้วรรณกรรมจะเป็นเรื่องแต่ง แต่ก็เป็นที่ยอมรับทั่วไปว่ามีข้อเท็จจริงรวมอยู่ด้วยเสมอ ข้อมูลเหล่านี้สามารถเป็นประโยชน์ในการแก้ไขพัฒนาสังคมได้เช่นเดียวกับศาสตร์ความรู้อื่น ๆ
การศึกษาเรื่องปัญหาการอบรมสั่งสอนในครอบครัว: ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมสมัยใหม่ภาษาจีนในประเทศไทยนี้ ได้ศึกษาวรรณกรรมรวม 27 เรื่อง (นวนิยาย 3 เรื่อง และเรื่องสั้น 24 เรื่อง) ของกลุ่มนักเขียนชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย ที่แต่งขึ้นในช่วงทศวรรษ 2490-ปัจจุบัน โดยมุ่งประเด็นที่การศึกษาอบรมในครอบครัวชาวจีนในไทย ผลการศึกษาพบว่า วรรณกรรมส่วนใหญ่ได้สะท้อนปัญหาการอบรมสั่งสอนในครอบครัว ใน 3 ลักษณะสำคัญคือ 1) การยึดถือจารีตประเพณีจีนอย่างเคร่งครัด 2) การขาดคุณธรรมจริยธรรมในครอบครัว และ 3) พ่อแม่ไม่สามารถอบรมสั่งสอนลูกได้ ทั้งนี้วรรณกรรมที่ศึกษามุ่งสะท้อนว่าสาเหตุหลักของปัญหามาจากพ่อแม่เป็นสำคัญ ที่ขาดความรู้ความสามารถในการอบรมสั่งสอนลูกอย่างถูกต้อง เพราะพ่อแม่ไม่ได้รับการศึกษาจากระบบโรงเรียน พ่อแม่ให้ความสำคัญเรื่องการหารายได้สร้างฐานะมากกว่าการอบรมสั่งสอนลูก และพ่อแม่มีความคิดความเชื่อแบบโบราณตามจารีตประเพณีมากเกินไป การศึกษาวรรณกรรมในลักษณะนี้ ทำให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของวรรณกรรมในแง่ที่เป็นสื่อสะท้อนสังคม ซึ่งนอกจากจะให้ข้อมูลสำคัญแล้ว ยังบอกความคิดความรู้สึกของผู้คนอีกด้วย จึงนับเป็นข้อมูลความรู้ที่มีคุณค่า ที่ไม่อาจหาได้จากแหล่งเอกสารอื่น แม้วรรณกรรมจะเป็นเรื่องแต่ง แต่ก็เป็นที่ยอมรับทั่วไปว่ามีข้อเท็จจริงรวมอยู่ด้วยเสมอ ข้อมูลเหล่านี้สามารถเป็นประโยชน์ในการแก้ไขพัฒนาสังคมได้เช่นเดียวกับศาสตร์ความรู้อื่น ๆ