Publication: การประเมินหน้าที่ด้านความเรียงในบทแปลภาษาไทยสองสำนวนของหนังสือเรื่อง เดอะโพรเฟ็ท ของคาลิล ยิบราน โดยใช้โมเดลของยูลีอาเนอ เฮาส์
dc.contributor.author | สุชาดา แสงสงวน | |
dc.coverage.temporal | 1923-1923 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-14T17:12:04Z | |
dc.date.available | 2023-12-14T17:12:04Z | |
dc.date.issued | 2014 | |
dc.date.issuedBE | 2557 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบคุณภาพงานแปลภาษาไทยสองสำนวนของหนังสือ เดอะโพรเฟ็ท ของคาลิลยิบราน โดยใช้โมเดลการประเมินคุณภาพงานแปลของยูลีอาเนอ เฮาส์ และมุ่งศึกษาเฉพาะหน้าที่ด้านความเรียงของใจความหลัก เนื่องจากมีความโดดเด่นมากที่สุดในต้นฉบับ ผลการศึกษาพบว่าภายใต้องค์ประกอบ 3 ประการของหน้าที่ด้านความเรียง ได้แก่ พลวัตของใจความหลัก การเชื่อมโยงของอนุพากย์ และการเชื่อมโยงด้วยรูปประโยค ในสำนวนแปลที่ 1 ของระวี ภาวิไล มีจำนวนหน่วยไม่ตรงเป็นสัดส่วน 17.86% ส่วนสำนวนแปล 2 ของหม่อมหลวงประมูลมาศ อิศรางกูร มีจำนวนหน่วยไม่ตรงเป็นสัดส่วน 35.00% นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์ทำเนียบภาษาของเฮาส์ในขอบเขตสัมพันธสาร ความสัมพันธ์ของคู่สื่อสาร และแบบวิธีสัมพันธสาร ซึ่งเป็นแนวคิดจากภาษาศาสตร์ระบบหน้าที่ของไมเคิลฮัลลิเดย์ พบว่าในภาพรวมแล้วสำนวนแปลที่ 1 มีจำนวนหน่วยไม่ตรงน้อยกว่า ซึ่งบ่งบอกว่ามีคุณภาพการแปลสูงกว่าสำนวนแปล 2 จากผลการศึกษาครั้งนี้แสดงว่าโมเดลของเฮาส์ใช้เป็นวิธีการหนึ่งเพื่อประเมินคุณภาพงานแปลประเภทร้อยแก้วเชิงร้อยกรองจากต้นฉบับ ภาษาอังกฤษเป็นสำนวนแปลภาษาไทยได้และใช้เปรียบเทียบคุณภาพงานแปลของบทแปลหลายสำนวนภาษาไทยได้ | |
dc.description.abstract | The purpose of this study is to analyze and compare the translation quality of two Thai translations of Kahlil Gibran’s The Prophet using Julianne House’s model of translation quality assessment (TQA), and to focus on the textual function of Theme because of its most predominance in the source text. The result shows that under the 3 elements of textual function, namely theme-dynamics, clausal linkage and iconic linkage, the translation of RawiBhavilai has 17.86% mismatches while the percentage of mismatches in the translation of PramoonmasIsarankurahas 35.00%. In addition, the result of House’s register analysisin Field, Tenor and Mode, which is adopted from Michael A. K. Halliday’s Systemic Functional Linguistics, shows that Bhavilai’s translation has, overall, a lower number of mismatches, which indicates a higher quality of translation than Isarankura’s translation. This study shows that House’s model can be taken as a means to assess translation quality of poetic prose from English ST into Thai TT and can be used to compare translation quality of different versions of Thai translations. | en |
dc.identifier.issn | 0125-6424 (Print), 2697-4606 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/1374 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | Translation Quality Assessment (Tqa) | |
dc.subject | Translation Quality | |
dc.subject | Juliane House | |
dc.subject.isced | 0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์ | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | การประเมินหน้าที่ด้านความเรียงในบทแปลภาษาไทยสองสำนวนของหนังสือเรื่อง เดอะโพรเฟ็ท ของคาลิล ยิบราน โดยใช้โมเดลของยูลีอาเนอ เฮาส์ | |
dc.title.alternative | An assessment of the textual function in the two Thai translations of Kahlil Gibran’s The Prophet using Juliane House’s model | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 134 | |
harrt.researchArea | วรรณกรรมอังกฤษ | |
harrt.researchGroup | ภาษาอังกฤษ | |
harrt.researchTheme.1 | การแปลวรรณกรรม | |
mods.location.url | https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/24036 | |
oaire.citation.endPage | 64 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 45 | |
oaire.citation.title | วารสารภาษาและวัฒนธรรม | |
oaire.citation.title | The Journal of Language and Culture | en |
oaire.citation.volume | 33 |