Publication: การพัฒนาทักษะภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยวของชุมชนไทยเบิ้ง บ้านโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2019
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ARU Research Journal Humanities and Social Sciences
ARU Research Journal Humanities and Social Sciences
Volume
6
Issue
3
Edition
Start Page
77
End Page
82
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การพัฒนาทักษะภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยวของชุมชนไทยเบิ้ง บ้านโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
Alternative Title(s)
Development of Japanese Communication Skills for Tourism of Thai BeungBan Khoksalung Community, Phatthananiksom District, Lopburi Province
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเนื้อหาและบริบทการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี 2) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นภาษาญี่ปุ่น 3) พัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาญี่ปุ่นในการต้อนรับนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น โดยใช้สื่อประชาสัมพันธ์ที่จัดทำขึ้น 4) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมความรู้เพื่อพัฒนาทักษะภาษาญี่ปุ่น งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ คนในชุมชนไทยเบิ้งบ้านโคกสลุงที่เกี่ยวข้องกับการต้อนรับนักท่องเที่ยว จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาญี่ปุ่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1) เนื้อหาและบริบทการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการต้อนรับนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่จำเป็น ได้แก่ สถานที่ท่องเที่ยวภายในชุมชน อาหารท้องถิ่น วิถึชีวิตไทยเบิ้ง 2) สื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นภาษาญี่ปุ่นที่พัฒนาขึ้น ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย มีความดึงดูดใจ และมีภาพประกอบ 3) ชุมชนไทยเบิ้งบ้านโคกสลุงสามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นในการต้อนรับนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นได้ และ 4) ผู้เข้ารับการอบรมการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาญี่ปุ่นมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.69 ส่วนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.46