Publication: การประเมินการใช้หลักสูตรภาษาญี่ปุ่น โรงเรียนสารวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
Academic Journal of North Bangkok University
Academic Journal of North Bangkok University
Volume
9
Issue
2
Edition
Start Page
57
End Page
70
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การประเมินการใช้หลักสูตรภาษาญี่ปุ่น โรงเรียนสารวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
The Evaluation of Japanese Curriculum Implementation at Sarawittaya School, Bangkok Secondary Educational Service Area Office 2
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินความเหมาะสมและเพียงพอด้านปัจจัยนำเข้าของการนำหลักสูตรภาษาญี่ปุ่นไปใช้ 2) ประเมินความเหมาะสมด้านกระบวนการในการนำหลักสูตรภาษาญี่ปุ่นไปใช้ และ 3) เพื่อประเมินความสำเร็จของผลที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการนำหลักสูตรภาษาญี่ปุ่นไปใช้ ประชากรเป็นผู้เกี่ยวข้องกับหลักสูตร ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการ (ฝ่ายบริหาร) จำนวน 1 คน ครูผู้สอนภาษาญี่ปุ่นหลักสูตรภาษาญี่ปุ่น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน นักเรียนแผนการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น หลักสูตรภาษาญี่ปุ่น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารและครูเป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบสอบถามนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านปัจจัยนำเข้าของการนำหลักสูตรไปใช้ พบว่า การจัดสรรครูผู้มีความรู้ความสามารถตรงสาขาภาษาญี่ปุ่นอย่างเหมาะสม ด้านงบประมาณ จัดสรรงบประมาณสำหรับการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยได้จัดสรรทั้งเงินอุดหนุนและเงินรายได้สถานศึกษา สื่อการเรียนรู้ของผู้เรียนทางด้านสื่อวัฒนธรรมยังไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้เรียน สิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอกับความต้องการของผู้เรียน 2) ด้านกระบวนการในการดำเนินการหลักสูตร พบว่า การจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนมีความแตกต่างกันทำให้ต้องปรับกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ทำให้ไม่ตรงกับโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรที่ได้กำหนดไว้ มีการปรับตามความเหมาะสมของบริบทความยืดหยุ่นของผู้เรียน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้มีหลากหลาย การวัดและประเมินผล ครูผู้สอนมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามผลการเรียนรู้ที่ได้ระบุไว้ในโครงสร้างรายวิชา และ 3) ความสำเร็จของผลที่เกิดจากการใช้หลักสูตรภาษาญี่ปุ่น พบว่า นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาญี่ปุ่นกับการโต้ตอบ สนทนากับครูผู้สอนและเพื่อน สร้างความมั่นใจในการเรียนภาษาญี่ปุ่นครูผู้สอนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องส่งผลให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน การเปิดหลักสูตรภาษาญี่ปุ่นได้สร้างชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้ามาเรียนเป็นจำนวนมาก โรงเรียนได้รับรางวัลต่าง ๆ ซึ่งเป็นการประกันคุณภาพของหลักสูตรภาษาญี่ปุ่น ที่การันตีถึงผลที่เกิดขึ้นกับโรงเรียน