Publication: แนวคิดเรื่องความเป็นเจ้าของตัวเองในทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท
dc.contributor.author | พระมหาวิเชียรสุธีโร | |
dc.contributor.author | Phramaha Wichian Sudhĩro | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T06:38:10Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T06:38:10Z | |
dc.date.issued | 2020 | |
dc.date.issuedBE | 2563 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเข้าใจแนวคิดเรื่องการเป็นเจ้าของตัวเองและปัญหาเรื่องสิทธิต่อปัญหาจริยศาสตร์โดยใช้การศึกษาจากเอกสารหนังสือและบทความที่เกี่ยวข้องผลการศึกษาพบว่าพุทธศาสนาเถรวาทถือว่าในแง่ปรมัตถสัจจะหรือความจริงสูงสุดเราไม่ได้เป็นเจ้าของตัวเองเพราะสิ่งที่เรียกว่า“ตัวเอง” “ตัวฉัน” หรือ“ตัวกู” ไม่มีอยู่จริงพุทธศาสนาเถรวาทถือว่าเราเป็นเจ้าของตัวเองเพราะชีวิตในปัจจุบันชาติของเราเป็นสิ่งที่สืบเนื่องมาจากชีวิตในอดีตชาติของเราเราทุกคนมีเจตนาหรือเสรีภาพในการเลือกทํากรรมดีหรือกรรมชั่วได้ด้วยตัวเองและเป็นผู้รับผลของกรรมดีหรือกรรมชั่วที่ตัวเองได้ทําไว้และปัญหาเรื่องสิทธินั้นพุทธศาสนาเถรวาทแบ่งสิทธิตามธรรมชาติออกเป็น2ส่วนคือ(1) สิทธิตามธรรมชาติปฐมภูมิได้แก่สิทธิในร่างกายและชีวิต(2) สิทธิตามธรรมชาติทุติยภูมิได้แก่สิทธิในทรัพย์สินในจํานวนสิทธิตามธรรมชาติสองอย่างนี้สิทธิตามธรรมชาติทุติยภูมิสามารถถ่ายโอนได้ในขณะที่สิทธิตามธรรมชาติปฐมภูมิไม่สามารถถ่ายโอนต่อปัญหาจริยศาสตร์เรื่องการฆ่าตัวตายไม่ถือว่าเป็นปาณาติบาตเพราะเป็นการใช้สิทธิที่ตนเองมีอยู่ส่วนการช่วยให้ผู้อื่นตายที่เรียกว่าการุณยฆาตเป็นสิ่งที่ผิดศีลธรรมเพราะเป็นการละเมิดสิทธิในร่างกายและชีวิตของบุคคลผู้ถูกฆ่าในเรื่องการซื้อขายอวัยวะมนุษย์พุทธศาสนาเถรวาทถือว่าการซื้อขายอวัยวะมนุษย์เป็นการละเมิดสิทธิในร่างกายของผู้ขายเพราะสิทธิในร่างกายเป็นสิทธิที่ไม่สามารถถ่ายโอนได้อวัยวะจึงไม่สามารถซื้อขายกันได้แม้ว่าคนขายจะสมัครใจก็ตาม | |
dc.description.abstract | In this article, an attempt was purposely made to a concept of being ownership of oneself and the problem of right to ethical problem. This is a documentary study. In it, the result was found that according to Theravada Buddhism, in the ultimate sense there is no any ownership, because what is called ‘self’ ‘mine’ ‘I’ no longer exists. It is held by Theravada Buddhism that I is the ownership of myself, because the life in the present birth of mine is continually derived from the past life of mine. It is believed that all ofus have intention or freedom in choosing to make any decision of good or bad action and thereby being heir of certain result of such good or bad action. In this respect, the problem of right comes up. According to Theravada Buddhism, rights can be dividedinto two categories: 1) the primary natural right | en |
dc.description.abstract | it means the right to body and life, and 2) the secondary natural right | en |
dc.description.abstract | it means the right to property. Out of these, the second one can be transferred while the first cannot. In the ethical problem concerning withsuicide, it does not violate the first precept, because it is akin to the utilization of the right one possesses, but the assisted suicide called mercy killing becomes immoral because it does violate the right to life and life of one whose life is taken. In purchasing human organs, it is held by Theravada Buddhism as a kind of violation of a seller’s body, because such life cannot be transferred at any cost | en |
dc.description.abstract | human organs are strictly prohibited from selling despite a seller’s consent. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4796 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | ความเป็นเจ้าของตัวเอง | |
dc.subject | พุทธปรัชญาเถรวาท | |
dc.subject | สิทธิ | |
dc.subject | Being Own Life | |
dc.subject | Theravada Buddhist Philosophy | |
dc.subject | The Right | |
dc.subject.isced | 0223 ปรัชญาและจริยธรรม | |
dc.subject.oecd | 6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา | |
dc.title | แนวคิดเรื่องความเป็นเจ้าของตัวเองในทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท | |
dc.title.alternative | A concept of being ownership of oneself in Theravada Buddhist philosophical viewpoint | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 831 | |
harrt.researchArea | ปรัชญาพุทธเถรวาท | |
harrt.researchGroup | ปรัชญา | |
harrt.researchTheme.1 | ปรัชญาสังคมการเมือง | |
harrt.researchTheme.2 | จริยศาสตร์ประยุกต์ | |
mods.location.url | https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jmpr/article/view/250261 | |
oaire.citation.endPage | 75 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 64 | |
oaire.citation.title | วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์ | |
oaire.citation.title | Journal of MCU Philosophy Review | en |
oaire.citation.volume | 3 |