Publication: Development of Internationalization of Library and Information Science Programs in Thailand
View online Resources
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2017
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
39
End Page
47
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Development of Internationalization of Library and Information Science Programs in Thailand
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
ความเป็นสากลของการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ในประเทศไทย* ชุติมา สัจจานันท์1 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์กรอบแนวคิดความเป็นสากล สภาพการพัฒนา ความเป็นสากล และ แนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาความเป็นสากล และพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาความเป็นสากลของสถาบันการศึกษา วิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ในประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบ ผสมผสาน ทั้งการวิจัยเอกสาร การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้ให้ข้อมูลหลัก เลือกแบบเจาะจง ตาม เกณฑ์ที่ก าหนดประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิผู้มีความรู้ ผลงานและประสบการณ์เกี่ยวข้องกับความเป็นสากลของการจัด การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ชาวไทยจ านวน 12 คน และชาว ต่างประเทศจ านวน 6 คน คณบดี/หัวหน้าโปรแกรม/ภาควิชา/สถาบันการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์และ สารสนเทศศาสตร์ในประเทศไทยที่เปิดสอนระดับบัณฑิตศึกษา จ านวน 9 คน กลุ่มผู้บริหาร อาจารย์นักวิชาการ นัก วิชาชีพ ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสีย จ านวน 34 คน เครื ่องมือการวิจัย ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูล แบบ สัมภาษณ์ แบบสนทนากลุ ่มและแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์และ สังเคราะห์ เนื้อหา และสรุปความ ข้อมูลเชิงปริมาณ หาความถี่ ร้อยละและค่าดัชนีความสอดคล้อง ผลการวิจัยพบว่า1) ความเป็นสากลยังเป็นค าที่มีการอธิบายและตีความในบริบทและมุมมองแตกต่างกัน กรอบ แนวคิดความเป็นสากลวิเคราะห์ในมิติของกิจกรรม กระบวนการ วัฒนธรรม และ สมรรถนะหรือผลลัพธ์ เพื่อพัฒนา คุณภาพมาตรฐานและสร้างความเป็นเลิศของสถาบัน 2) สภาพการพัฒนาความเป็นสากลพบว่าทุกสถาบันที่เปิดสอน ระดับบัณฑิตศึกษามีการด าเนินการในด้านการบริหารจัดการและการจัดการศึกษา และมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนระดับ ปริญญาเอก ได้แก่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รวมทั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ซึ่งมี แผนเปิดสอนอยู่ในสามสถาบันน า 3) แนวปฏิบัติที่ดีจากกรณีศึกษาการพัฒนาความเป็นสากลในภูมิภาคที่แตกต่างกัน
Table of contents
Description
ไม่มีฉบับเต็ม, มีฉบับภาษาไทยด้วย